How to avoid unnecessary blood transfusion? 15/09/54 ภาควิชาสูติศาสตรและนรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

15/09/54
How to avoid unnecessary blood transfusion?
วิทยากร: รศ.พญ.วราภรณ เชื้ออินทร
How to avoid unnecessary blood transfusion?
(before and after operative procedures)
โดย
รศ.น.พ.ยุทธพงศวีระวัฒนตระกูล
ผศ.พญ.จิตติมา ศิร ิจีร ะชัย
วิทยากรและผูดําเนินการอภิปราย:
รศ.นพ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
ภาควิชาสูต ิศ าสตรและนรีเวชวิทยา
คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
รศ.น.พ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
Introduction
Intervention
Pregnancy with anemia
Gynecological condition
with anemia
no anemic
symptom
delivery
abortion
no anemic
symptom
operation
anemic symptom
after procedure
-oral-iron supplement
-intravenous iron
-blood transfusion
รศ.น.พ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
รศ.น.พ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
รศ.น.พ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
รศ.น.พ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
1
15/09/54
Routine case preoperative blood transfusion
16 มี.ค. 5 3 OPD case
หญิงไทยคู 42 ป G 1 P 1 last 10 yrs.
LMP 2 0 ก.พ.5 3 Contraception condoms
CC :
ออ นเพลีย หนามืด ~ 1 สัปดาหก อ น เขา รพ. จ.เลย
PI
1 เดือ นที่ผานมาออ นเพลีย วิงเวีย น ไปตรวจที่ รพ. จ . เ ล ย แพท ยรับ ไ วใ น รพ.
เนื่อ งจากตรวจพบวาซีด (ความเขมขนของเลือ ดรอ ยละ 14.1) ตรวจรางก า ย ค ลํา ไ ดก อ น ใ น
ทอ ง ไดใ หเลือ ด 4 ยูนิต (4 ถุง) ในเวลา 3 วันติดตอ กัน ความเขมขนของเลือ ดได
รอ ยละ 32 สงตรวจทางหอ งปฏิบตั ิก าร
Routine case preoperative blood transfusion
Barium enema (12 มี.ค. 53) ราย งานผล plaque like l esion & fo cal extra luminal
compression at lateral aspect of sigmoid colon could be due to pelvic mass with invasion or
early colonic adenocarcinoma
whole abdomen ultrasound : enlarged uterus with heterogenous mass 7x6.7x8 cm
รพ. จ.เลย สงตอ มา รพ.ศ รีนครินท ร for eva luation and proper manag ement.
รศ.น.พ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
Routine case preoperative blood transfusion
รศ.น.พ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
Routine case preoperative blood transfusion
Physical examination at Srinagarind Hospital
palpable suprapubic mass
2/3+ > SP
U/S 13 มีนาคม 2553 enlarged uterus 12.1x8.2x5.0 with myoma 6.3x8x8 cm
OR 9 เมษายน 2553
finding enlarged uterus 13x9x7 cm endometrial thickness 1.2 cm
Submucous & intramural myoma 8 cm
operation TAH
EBL 250 ml
pathology intramural leiomyoma
รศ.น.พ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
Risks of blood transfusion
1. Inf ection risks
2. Immunological risks
3. Ery throcyte damage caused by storage risks
รศ.น.พ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
รศ.น.พ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
INF ECTION RISKS(2)
In fection
HIV
Hepatitis B virus
Hepatitis C virus
CMV, EBV virus
Bacteria
Parasites (e.g. malaria)
Prions
In cidence
(1:1-1:12 million)
(1:50,000-1:5 million)
(1:100,000-1:5 million)
(not clear)
(1:2000)
(not clear)
(not clear)
รศ.น.พ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
2
15/09/54
Immunological risks (2)
Erythrocyte damage caused by storage (2)
Membrane defects (increased rigidity)
Reduced 2, 3-DPG co ntent
q Reduced survival
q Hemo lysis
q Acido sis, hyperg lycemia
o A c u te hemolytic reaction
q
o La te-type reactions
q
o A llergies
o TRALI (Transfu sion-Related Acute Lung Injury)
o TR-GVHD (Transfu sion-Related Graft Versu s
Cyto kine accumulation
q Histamine and kinin accumulation
q Micro ag gregation
q Increased ag glutination tendency
q
Host Disease)
o P os t-trans fusion purpura
o D e novo antibodies to blood groups or HLA
รศ.น.พ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
ผูปวยทางสูติศาสตร จัดเปน กลุมที่มคี วามเสี่ย งใ น ก าร
เสียเลือ ดไดมาก (3) โดยเฉพาะในรายที่มภี าวะแทรก ซอ น
ก ารเสีย เลือ ดมา ก เปน ห นึ่ง ใ น สา เห ตุก ารเสีย ชีวิต
4 ลําดับแรกของทางสูติศ าสตร ซึ่ง ไ ดแ ก ( 3 ) Infection,
hemorrhage, hypertension, and embolism.
รศ.น.พ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
Antepartum (4)
•
Early pregnancy : abortion, ectopic pregnancy,
molar pregnancy.
Late pregnancy : placenta previa, abruptio placenta
Intrapartum (4) : placenta previa, placental abruption,
•
dystocia, uterine dysfunction.
Postpartum (4) : postpartum hemorrhage
uterine atony, birth passage injury,
retained piece of placenta.
รศ.น.พ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
รศ.น.พ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
ภาควิช าสูต ิศ าสตรและนรีเ วชวิทยาคณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยขอนแกน
มกราคม 2550 – กรกฎาคม 2552
ภาควิชาสูต ิศ าสตรและนรีเวชวิทยา คณ ะ แ พท ยศ าส ต ร
มหาวิทยาลัยขอนแกน ไดมีการนํา iron-sucrose มาใชกบั ผูปว ย
ทางดานนี้ ตั้ง แต มกราคม 2550 จนถึง กรกฎาคม 2552 โ ด ยมี
วัต ถุประสงคเพื่อหลีกเลี่ยงหรือลดการใหเลือดแกผ ูปวย โดยไดใช
กับผูปวยที่ส ูต ิศ าสตร 6 ราย ผูปวยทางนรีเวชวิทยา 9 ราย รว ม
เปน 15 ราย ดัง นี้
OB 6
iron- sucro se
success 5
(5:6 or 83.33%)
blood transfusion
1
GYN 9
iron- sucro se
success 8
(8:9 o r 88.89%)
blood transfusion
1
success 13
(13:15 o r 86.67%)
blood transfusion
2
Ov erall 15 iron- sucro se
รศ.น.พ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
รศ.น.พ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
3
15/09/54
ตารางที่ 1 แสดงผูปวยทางสูต ิศ าสตร จํานวน 6 ราย สามารถทดแทนการใหเลือ ดได 5 ราย
การวิน ิจฉัย
อายุ
ความ
เขมขนของ
เลือดเดิม
กอนมีการ
เสีย เลือด
1. Missed
34 ป
Abortion ( uterus 14 wks
size of gestation )
35
2. G1P1 36 wks PROM 27 ป
with spontaneous
labor
32
3. G1P1 40 wks
with spontaneous
labor
36
24 ป
หัต ถการ
สาเห ตุและ ความเขม ขน Intervention Intervention ความเขม ขน
ปริมาณเลือดที่ ของเลือดกอน
1
2
ของเลือด
ออก
และหลัง
กอนกลับ
Intervention
บา น
1
misoprostol Incomplete
vaginal
abortion with
suppositories 800 ml blood
loss curettage
performed
Normal
PPH at
labor with postpartum
episiotomy ward estimate
blood loss
500 ml
Normal
PPH 500 ml at
labor with labor room and
episiotomy PPH at
postpartum
ward due to
uterine atony
estimate blood
loss 300 ml
24
26
25.1
iron-sucrose
100 mg and
100 mg in 2
consecutive
days
iron-sucrose
200 mg
iron-sucrose
200 mg
No
No
No
26
การวิน ิจฉัย
4. G1P1 39 wks
Infertile
อายุ ความเขมขนของ หัต ถการ สาเห ตุและปริม าณ ความเขม ขน Intervention Intervention ความเขม ขน
เลือดเดิมกอนมี
เลือดที่ออก
ของเลือดกอน
1
2
ของเลือด
การเสีย เลือด
และหลัง
กอนกลับ บา น
29 ป
34.2
LTC/S
5. G3P3 36 wks
38 ป
placenta previa totalis
(2 nd episode bleeding )
32
Emergency LT C/S heavy
LTC/S due bleeding
to APH ~ 1200 ml
400ml
6. G2P2 38+ wks
Induction of labor
32
Emergency LT C/S uterine atony
LTC/S due estimate blood loss
to cervical 1000 ml
dystosia
24
23 ป
Heavy bleeding
1400 ml
Intervention
1
26
28,20.5
26.5
iron-sucrose 200
mg
No
24
iron-sucrose 200
mg
Blood
transfusion
2 units
30
iron-sucrose 200
mg and 200 mg
in 2 consecutive
days
No
23
21.3
G = Gravida P = Parity
PROM = Premature rupture of the membranes
PPH = Postpartum hemorrhage LTC/S = low transverse cesarean section
APH = Antepartum hemorrhage
รศ.น.พ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
รศ.น.พ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
จากประสบการณการใชของภาควิชาสูติศาสตรแ ละนรีเ ว ช
วิทยา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัย ขอนแกน จะใชเฉพาะกับ
ผูปวยใน การใหในรายแรกใช 100 มก. iron-sucrose โดยเจือจาง
ใน normal saline 250 มล. หยดชาๆ ทางหลอดเลือดดํา ดว ย เ ข็ม
medicut เปนเวลา 2-4 ชั่วโมง และเฝา ร ะวัง อาการ ขา ง เ คีย ง
โดยใกลชิด เมื่อมีประสบการณการใชม ากขึ้น จึง ใช 200 มก.ของ
iron-sucrose เจือจางใน normal saline 250 มล. และ 1 0 0 ม ล.
ตามลําดับหยดชาๆ ทางหลอดเลือดดําเชนกัน
รศ.น.พ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
รศ.น.พ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
ตารางที่ 2 แสดงผูปว ยทางนรีเ วชวิทยา จํา นวน 9 ราย สามารถทดแทนก ารใหเ ลือดไ ด 8 ราย
การวิน ิจฉัย
ปจจัยที่ม ีตอผลสําเร็จในการหลีกเลี่ยงการใหเ ลือ ดทดแทน
Obstetrics casesที่ม ีการเสียเลือดมากและเลือดหยุด แลว ไ ดแ ก
initial hematocrit, amount of blood loss and hematocrit post
intervention with iron-sucrose การศึกษานี้ผูปวยที่ระดับ คว าม
เขม ขนของเลือดต่ําสุดหลัง ได iron-sucrose และสามารถหลีกเลี่ยง
การใหเลือดไดคือระดับความเ ขม ขน ของ เ ลือ ดรอ ย ละ 2 1 . 3
เนื่องจากผูปวยรูสึกดีขึ้น วิง เวียนลดลงสามารถดูแลลูกได
รศ.น.พ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
ความเขม ขน
ของเลือดในวัน ที่
รับ ไวใน
โรงพยาบาล
44
28.5
Intervention
1
ความเขม ขน
ของเลือดกอน
เริ่ม การผาตัด
iron-sucrose
200 mg
32
TAH with BSO
2. Myoma uteri with
menorrhagia and
anemia
41
29.4
( before
admission 22.6
)
iron-sucrose
200 mg
31
3. Pelvic mass
67
31
iron-sucrose
200 mg
33
4. Myoma 14 wks size with
hypermenorrhea
49
28
iron-sucrose
200 mg
31
TAH with Rt
No
SO (myoma
with
adenomyosis
and pelvic
endometriosis)
TAH with Postoperativ
BSO
e hematocrit
omentectomy 24%
and blood
transfusion 1
unit had
given
TAH with BSO
No
1. Myoma uteri 16 wks size
with hypermenorrhea
อายุ
ชนิดของการ Intervention ความเขม ขน
ผา ตัด
2
ของเลือดกอน
กลับ บาน
No
31
31
30
30
รศ.น.พ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
4
15/09/54
การวินิจฉัย
อายุ
ความเขมขนของ
เลือดในวันที่ร ับไว
ในโรงพยาบาล
Intervention
1
5. Subserous myoma
41
28.7
6. Myoma 12 wks size
with hypermenorrhea
48
iron-sucrose
200 mg
iron-sucrose
200 mg
7. Myoma 10 wks size 50
with hypermenorrhea
8. Adenomyosis 12 wks 42
size with
hypermenorrhea and
anemia
9. Prolapsed submucous 38
myoma 4x5 cm.
NB
ความเขมขนของ ชนิดของการผาตัด
เลือดกอนเริ่มการ
ผาตัด
Intervention
2
ความเขมขน
ของเลือดกอน
กลับบาน
31.5
TAH
No
30
32.3
( before
admission 27.1)
29.8
iron-sucrose
200 mg
29.9
iron-sucrose
( before
200 mg
admission 27.8)
35
TAH with BSO
No
33
31
LAVH with
Lt SO
TAH
No
28
No
29
31
iron-sucrose
( before
200 mg
admission 27.6)
33
Transvaginal
myomectomy
No
31
31
TAH c BSO = total abdominal hysterectomy withbilateral salpingooophorectomy
LAVH
= laparoscopic assistedvaginal hysterectomy
Lt SO
= left salpingooophorectomy
Rt SO
= right salpingooophorectomy
รศ.น.พ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
สําหรับอาการและผลขางเคียงของ iron-sucrose จากการ ใ ชท าง
คลินิก พบ 1 รายจาก 15 ราย เปนผูปวยนรีเวชอายุ 41 ป โดย เ มื่อ
ให iron-sucroseไปแลวรูสึกออกรอน หนาแดง เมื่อปร ะเ มิน แลว
ไมใชอาการแพรุนแรง แตเปนผลขางเคียงจากการหยดย าเ ขา ทาง
หลอดเลือดในอัตราที่เร็ว ในรายนี้แกไขโดยการ ใหย านานขึ้น
จาก 1 ชั่วโมงเปน 4 ชั่วโมง และเฝาสัง เกตอาการ อยา ง ใกลชิด
โดยเมื่อใหยาในอัตราที่ชาลงแลวอาการตางๆก็หายไป
รศ.น.พ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
ผลขางเคียงทางคลินิกที่พบไดคือ(9)
metallic taste, feeling hot, nausea, local
irritation, dizziness
รศ.น.พ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
ปจจัยที่มีตอ ผลสําเร็จในการหลีก เลี่ยงการให
เลือ ดทดแทนใน Gynecological casesไดแก
initial hematocrit, intraoperative blood
loss and type of operations
รศ.น.พ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
ความกัง วลเกี่ยวกับการ ใหธ าตุเ หล็ก ทาง หลอดเ ลือ ดดํา
เนื่องจากกลัวปฏิกิริยาแพรุน แร ง ไ ดแ ก anaphylactic reaction
และ anaphylactoid reaction ขา ง ตน ที่ก ลา ว ถึง ในตํา ร าทาง
การแพทยคือ iron-dextran ซึ่ง มีขนาดโมเลกุล ใหญ > 100,000
daltons (8) ในขณะที่ iron-sucrose จะอยูในกลุม iron hydroxidesaccharate complex ซึ่ง มีนํา้ หนักโมเ ลกุล 3 0 , 0 0 0 -1 0 0 , 0 0 0
daltons(8) ไมเ กิด การ ส รา ง biological poly mers จึง ไมพ บ
anaphy lactic reaction
รศ.น.พ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
จาก ก ารศึก ษาดว ย PET scan (positron emission
tomography) พบวา ธาตุเ ห ล็ก ไปสะสมใ น ไข ก ระดูก
เกือบจะทัน ทีห ลังใหยา มีคาครึ่งชีวิต ใ น พล าสมา ที่ 5.5
ชั่วโมง และระดับในพลาสมากลับไปเทา กอ น ก ารใ หย าที่
24 ชั่วโมง หลังการไดยา จึงเปน การยืน ยัน วา ธ าตุเ ห ล็ก ที่
ใหน ี้รปู แบบนีถ้ ูก นําไปใชสรางเม็ดเลือ ดแดงไดทัน ทีอ ยา ง
รวดเร็ว (9)
รศ.น.พ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
5
15/09/54
ผลการศึก ษาจากตางประเทศ
Zurich University Hospital มีการนํา venofer มาใชใ นส ตรี
ตั้ง ครรภและหลัง คลอดตั้ง แตหลัง คศ.1990 โดยใชเกณฑ 8 ประการ(9)
คือ
1. Anemia, Hb < 10 g/dL
2. Iron deficiency confirmed (ferritin < 15 µg/L)
3. Completion of the first trimester
4. Failure of a 14-day course of oral iron therapy
5. No hemoglobinopathy
6. No liver disease
7. No acute or chronic bacterial infection
8. No known iron overload (e.g. hemochromatosis).
รายงานการใช iron-sucrose ในทางสูติศ าสตรใ น
ตางประเทศ จะเปน ก ารยืน ยัน ค วามปล อ ดภัย แล ะ
ประสิทธิภาพที่เหนือ กวา เร็วกวา การใหธาตุเหล็ก ชนิด
รับประทาน
รศ.น.พ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
Perewusnyk G และคณะ(8) ภาควิชาสูติศาสตร
Zurich University Hospital ประเทศสวิตเซอรแลนด
รศ.น.พ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
Al-Momen AK และคณะ (10) ประเทศซาอุด ิอาระเบีย
iron-sucrose
Pregnancy with iron
deficiency anemia
OK 493 cases
Pregnancy ,Postpartum
500 cases (1992-2000)
8 years experience
52 patients iron-sucrose
(Hb deficit x BW(kg)x0.3 +10 mg/kg
replenish iron store)
59 patients FeSO 4 300 mg (60 mg
elemental iron) oral three times a day
flush 4 cases
1.5%
rash 3 cases
time to achieved
maximal Hb level
Hb level
iron-sucrose group
oral FeSO4 group
128.5±6.6*
111.4±12.4
6.9±1.8* wks
14.9±3.1 wks
รศ.น.พ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
รศ.น.พ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
Al RA และคณะ (1) ประเทศตุรกี
Bhandal N และ Russell R(11) มหาวิทยาลัย Oxford สหราชอาณาจักร
Postpartum iron deficiency anemia
Hb<9 gm/dl
ferritin<15µg/l
24-48 hours
postdelivery
IV iron 22
Pregnancy with
iron deficiency
anemia
Oral iron 21
oral iron group
45 cases
intravenous
iron group 45
cases
3x100 mg iron tab
per day
200 mg elemental iron in
100 ml 0.9% Nacl infused
in 20-30 minutes
[pre-pregnanc y wt(k g)x (110g/L-ac tual Hb)x0.24]+500 mg .
Hb, ferritin d14,28
delivery,
1 s t postpartum day
Hb, ferritin d14, 28
delivery,
1 s t postpartum day
Fig.2 Response of ferritin to intravenous
and oral iron therapies
Fig.1 Response of Hb to intravenous and oral iron therapies
Fig.3 Response of serum iron to intravenous and
oral iron therapies
รศ.น.พ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
Fig.4 Mean hem oglobin levels dur ing
study per iod (str aight line and black
boxes: intr avenous ir on; dotted line
and white boxes: or al ir on. Er r or bars
r epr esent standar d er r or s).
6
15/09/54
Krafft A และคณะ(12) ไดรายงานการใ ห iron-sucrose
ทางหลอดเลือดดําแกสตรีตั้งครรภ 2 รายที่เ ปน Inflammatory
bowel disease และมีภาวะซีดอยาง รุน แ รง พ บวา ก ารรัก ษา
ไดผลดี ภาวะซีดดีขึ้น อยางรวดเร็วและไมมภี าวะแทรกซอ น ทั้ง
ตอมารดาและทารกในครรภ
รายงาน ก ารใ ช iron-sucrose ใ น ทาง น รีเ วชวิท ยาใ น
ตางประเทศจะเปน การยืน ยัน ความปลอดภัย แ ล ะประสิท ธิภ าพ
ในการลดหรือหลีกเลี่ยงการใหเลือดแกผูปวยที่ตองรับการผาตัด
ทางนรีเวชวิทยา
รศ.น.พ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
รศ.น.พ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
Kim YHและคณะ (14) ประเทศเกาหลีใ ต
Muñoz Mและคณะ (13) ประเทศสเปน
random
target Hb
IDA
faster
Preoperative IV iron
IDA
Post operative anemia
52 gynecological
surgery Hb<10 gm/dl
Intravenous iron sucrose 200
mg x3 times a week (begin 3
weeks before surgery)
76 patient Hb<9.0 g/dl
scheduled for surgery
Oral iron protein succinylate
80 mg/d
time
consuming
process
Oral iron
3x200 mg doses of intravenous
iron-sucrose on consecutive days
Hb
2.7 gm/dl
i n t ravenous iron
H b increase (g/dl)
o r a l iron
3.0
F e rritin increase (µg/l)
0.8
170.1
4.1
76.7
11.5
P e rcentage of achieving the target Hb
(15 days after the last dose)
รศ.น.พ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
รศ.น.พ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
Case Omit blood transfusion (preoperative Hct < 30%)
Williamson LM และคณะ (15) ไดรายงานภาวะแทรกซอนที่รุน แรง
จากการใหเ ลือดโดยการขอขอมูลรายงานในทางลับ จากนัก โล หิต วิท ยา ใน
โรงพยาบาลของสหราชอาณา จัก รแ ล ะ ไอ รแ ล น ด ใน ระ ยะ เ ว ล า 2 ป
(ค.ศ.1996-1998) พบวา มีรายงานภาวะแทรกซอนที่รุน แรง 366 ราย เสีย ชีว ิต
22 ราย โดยมีสาเหตุจ ากความผิดพลาดของกรุป เลือด ABO การติดเ ชื้อ จ า ก
เลือดซึ่งมีท ั้งแบคทีเ รีย ไวรัส และมาเลเรีย ผูรายงานสรุป วา การใหเ ลือ ดใน
ปจ จุบ ัน ถือวามีความปลอดภัยสูงแตการระมัดระวังใหความรูบ ุคลากร ค ว า ม
ละเอียดรอบคอบ ในการตรวจเลือดแตละยูน ิต การตรวจสอบคว า มถูก ตอ ง
ของผูป ว ยที่ไดรับ เลือด การระมัดระวังการปนเปอนของเลือดตองกระทําอยาง
ถูกตอง เพื่อไมใหเ กิดภาวะแทรกซอนที่รุน แรง
รศ.น.พ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
Diagnosis
Age
Admission
hematocrit
Intervention
1
Hematocrit
just before
operation
1)Myomauteri
14 wk sized with
hypermenorrhea
44
21
(before mense 30.9)
Iron-sucrose
200 mg x 2
consecutive
days
24
TAH (previous Iron sucrose
Lt SO EBL
200 mg
150 ml)
27
Iron-sucrose
200 mg
28
TAH
(EBL 300 ml)
2)Myomauteri 40
18 wk sized post
incomplete
abortion
Type of
operation
Intervention
2
Iron sucrose
200 mg
Discharge
hematocrit
25.5
25
รศ.น.พ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
7
15/09/54
1. Al RA, Unlubilgin E, Kandemir O, Yalvac S, Cakir L, Haberal A. Intravenous Versus Oral
Iron for Treatment of Anemia in Pregnancy. Obstet Gynecol. 2005; 106(6): 1335-1340.
2. Huch R, Breymann C. Anaemia in Pregnancy and thepuerperium. 1st edn. Bremen: UNI- MED,
2005: 76-77.
3. Cunningham FG, Leveno KJ, Bloom SL, Hauth JC, GilstrapIII LC, Wenstrom KD (eds)
Williams Obstetrics, 22nd edn. New York : McGraw – Hill, 2005 :7.
4. Koonin LM, MacKay AP, Berg CJ, Atrash HK, Smith JC: Pregnancy-related mortality
surveillance-United States, 1987-1990. MMWR. 1997; 46:127.
5. Berek JS (eds) Berek & Novak’s Gynecology, 14th edn. Philadelphia: Lippincott Williams &
Wilkins, 2007: 480.
6. Rock JA, Jones III HW (eds) Te Linde’s Operative Gynecology, 10th edn. Philadelphia:
Lippincott Williams & Wilkins, 2008:595.
7. Gibbs RS, Karlan BY, Haney AF, Nygaard IE (eds) Danforth’s Obstetrics and Gynecology,
10th edn. Philadelphia: Lippincott Williams &Wilkins, 2008:1043.
8. Perewusnyk G, Hunch R, Hunch A, BreymannC. Review article Parenteral iron therapy in
obstetrics: 8 years experience with iron-sucrose complex. Br J Nut. 2002;88:3-10.
9 . Huch R, Breymann C. Anaemia in Pregnancy and the puerperium. 1st edn. Bremen: UNI- MED, 2005:70-74.
10. Al-Momen AK, Al-Meshari A, Al-Nuaim L, Saddique A, Abotalib Z, Khashogji T, Abbas M. Intravenous
iron sucrose complex in the treatment of iron deficiency anemia during pregnancy. Eur J Obstet Gynecol
Reprod Bid. 1996; 69:121-124.
11. Bhandal N, Russell R. Intravenous versus oral iron therapy for postpartum anemia. Br J Obstet Gynecol.
2006;113:1248-1252.
12. Krafft A, Breymann C, Hunch R, Hunch A. Intravenous iron sucrose in two pregnant women with
inflammatory bowel disease and severe iron deficiency anemia. Acta Obstet Gynecol Scand. 2000;79:720722.
13. Muñoz M, Breymann C, Garcia-Erce JA, Gómez-Ramίrez S, Comin J, Bisbe εtE. Efficacy and safety of
intravenous iron therapy as an alternative/adjunct to allogeneic blood transfusion. J compilation.2007;1-12.
14. Kim YH, Chung HH, Kang SB, Kim SC, Kim YT. Safety and usefulness of intravenous iron sucrose in the
management of preoperative anemia in patients with menorrhagia : a phase IV, open-label,prospective,
randomized study. Acta Haematol. 2009; 121(1): 37-41.
15. Williamson LM, Lowe S, Love E M, Cohen H, Soldan K, McClelland DBL, Skacel P, Barbara JAJ.
Serious hazards of transfusion (SHOT) initiative: analysis of the first two annual report. BMJ.1999;319:16-19.
รศ.น.พ.ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล
Thank you
8