คู่มือการใช้งาน (User Manual) Update : 31-03-2014 IP Power Meter Model : IPM310x

คู่มือการใช้งาน (User Manual)
IP Power Meter
Model : IPM310x
Update : 31-03-2014
IP Power Meter
Model : IPM310x
lขนาด 96 x 96 mm ลึก 65 mm ใช้ยึดติดหน้าตู้ MCC ,MDB
lวัดแบบ True RMS ที่ค่าความถูกต้อง Accuracy ดีกว่า 0.2 %
lวัดค่าVolt, Amp, Kw, Kvar, Kva, PF, Hz แยกดูเป็นรายเฟสและ 3เฟส
lรองรับการต่อแบบ 4L4CT, 4L3CT, 3L3CT, 4L1CT
lเป็น IP - Metering และ Web Server ในตัว ผู้ใช้สามารถ Monitor/Config ผ่านทาง
Browser ของ PC เช่น Internat Explorer, Chrome, FireFox หรือดูผ่านมือถือ แบบ
Smooth Real time และ High Speed Internet
lแสดงผลใช้ 7Segment 3สี ขนาด 9.1 mm สีเขียว/สีเหลือง และ7 mm สีแดง มองเห็นได้ชัด สามารถมองเห็นในที่สว่างได้
lสามารถวัดกระแสนิวทรอล จาก CT ตัวที่ 4 หรือ ในกรณีที่ใช้เพียง 3 CT ค่ากระแสนิวทรอลจะได้จากการค�ำนวณ
lกรณีใช้ CT 4ตัว ยังสามารถค�ำนวณกระแส Leakage ได้
lสามารถตรวจดูมุมเฟส ระหว่าง U-U , I-I, U-I เพื่อตรวจสอบการเดินสายเรียงเฟส
lสามารถแสดงค่า %Current of Full Load , %Kilowatt of Full Load
lBuilt-in Real-time-clock ปฎิทินวันเดือนปี และ เวลา พร้อม Battery Backup
lวัดค่า Kwh แยกช่วงเวลา On - Off - Holiday ,Kvarh จึงค�ำนวณค่าไฟได้ครบทุกประเภท และ RunHourนับชั่วโมงท�ำงาน
lสามารถโปรแกรมวันหยุดประจ�ำปี 20 วัน ล่วงหน้า 1 ปีตามประกาศการไฟฟ้า
lค�ำนวณ Demand ได้ทั้งแบบ Block และแบบ Slide (ให้ค่าที่ใกล้เคียงกับมิเตอร์การไฟฟ้าแบบ Real Time จึงสามารถใช้
ควบคุม Deamand แบบไม่ต้องท�ำนาย Forecast)
lสามารถ Syns Time ผ่านวงแลนไปยัง PC Time Server หรือ สถาบันมาตรวิทยาได้ ด้วย Network Time Protocol NTP
ท�ำให้มิเตอร์ทุกตัวมีนาฬิกาที่ตรงกันช่วยให้การควบคุม Deamand มีความแม่นย�ำมากขึ้น
lWebPage =>Dialy Report ตารางสรุปการใช้พลังงาน นาน 500วัน , Monthly Report การใช้พลังงานรายเดือน นาน 120
เดือน สามารถ Export Dialy/ Monthly Report เป็น XML File เปิดบน Excel เพื่อการท�ำ Billing แยกตามธุรกิจ
lWebPage => Alarm History Report ได้ถึง 500 Event Export เป็น XML File
lBuilt-in ฟังก์ชั่น Phase Protection Relay และ Motor Protection Relay ช่วยป้องกัน Under/ Over/ Unbalance Voltage ,
Open / Reverse Phase , Over Current (Overload) , Under Current (Run Dry , Low Flow , NoLoad)
lBuilt-in Remote 2 Input เพื่อรับสถานะอินพุทภายนอกไปส่งที่ IP Mimic Anunciator ( Ex:ส่งสถานะไปที่ห้องช่าง)
เป็นการท�ำงานแบบ Peer to Peer ผ่านวงแลน ช่วยลดต้นทุนการเดินสายไฟ
lBuilt-in Remote 2 Output แบบ Programable การท�ำงานได้ และยังส่งสถานะไปส่งที่ IP Mimic Anunciator ได้เช่นกัน
lBuit in 1 Ethernet Port รองรับการสื่อสารแบบ Modbus TCP Protocol, http, ftp รวม 6 Connection
lBuit in 1 Port RS485 รองรับการสื่อสารแบบ Modbus RTU Protocol (Slave)
lBuit in Function Gateway ผู้ใช้สามารถส่งการสื่อสารผ่านวงแลนด้วย Modbus TCP จากนั้น Transparent ออกทาง RS485
ลงไปยังอุปกรณ์ RS485 Slave ที่อยู่ด้านล่างได้เลย
lOption Analog output 4-20mA DACขนาด16 Bit จ�ำนวน 1 Channel โปรแกรมได้
lOption Data Logger ส�ำหรับการบันทึกข้อมูลทุกตัวแปร ขนาด 2GB โดยแบ่งเป็น1วัน1ไฟล์ และเก็บในFolder ชื่อปีเดือน
เมื่อครบเดือนจะสร้าง Folder ปีเดือน ใหม่ไปเรื่อยๆ โดยดึงไฟล์ผ่านทาง File Transfer Protocol ผ่าน LAN / Internet
1
รหัสสินค้า
IPM310x1-x2 x3 x4 x5 -x6
x1
x2
x3
x4
x5
x6
0 = ไม่มี
1 = ไฟเลี้ยง
1 = มี Ethernet 0 = ไม่มี
1= มี
A50 ใช้กับ CT Type xxxxA/5A /1A
Data
Logger
Analog
output
100 -240Vac
RS485
CT เป็นแบบท้องตลาดทั่วไป Output 0 -5Amp (Built-in)
RJ45 Jack
(Built-in) 105 -240Vdc
mA ใช้กับ CT Type xxxA/ xxx mA
ด้าน Secondary พัน 2500รอบ ความแม่นยำ�สูง
1 = เพิ่ม
1 = เพิ่ม
Data Logger Analog
2GByte
output 1ch
4 - 20mA
2 = ไฟเลี้ยง
380- 420Vac
IP Power Meter
IPM310x Series
mV ใช้กับ CT Type xxxA/ 333 mV
ด้าน Secondary มีค่า 0-333mV ความแม่นยำ�ดี
R35 ใช้กับ Flexible Rogowski 3500Amp
Diameter 190 มม ถอดแยกส่วนได้
R15 ใช้กับ Flexible Rogowski 1500Amp
Diameter 190 มม ถอดแยกส่วนได้
R08 ใช้กับ Flexible Rogowski 800Amp
Diameter 80 มม ถอดแยกส่วนได้
ข้อมูลจำ�เพาะทางไฟฟ้า
ข้อมูลทางไฟฟ้า
แรงดันไฟเลี้ยงของมิเตอร์
Accuracy ความถูกต้องในการวัด
Switching Power Supply 5Watt Max
AC Volt 100- 240V 50-60 Hz (30 - 50mA)
DC Volt 105- 240V (30 - 50mA)
Input Protection
Varistor 275Vac 7KA , Thermistor 0.15Amp
Terminal
Screw Type
Output Relay 1,2
Contact 250Vac 3Amp + Varistor
ย่านอุณหภูมิใช้งาน
0-55 องศาเซนเซียส
Input Voltae
รูปแบบการต่อใช้งาน
แรงดันไฟฟ้า 3 เฟส 4สาย ; 3 เฟส 3สาย
ใช้งานร่วมกับ 4 CT, 3CT, 2CT , 1CT ได้
ย่านแรงดันที่วัด
L-N 30-550 Vac; L-L 550 Vac 250HzMax.
หรือ ใช้ร่วมกับ Potantial Transformer (PT)
ย่านแรงดันที่วัดได้สูงสุด 550 VAC หรือ มากกว่า ( ต้องแจ้งล่วงหน้า)
Permanent Overload
L-N 550 Vac หรือ มากกว่า ( ต้องแจ้งล่วงหน้า)
อินพุท Impedance
ประมาณ 900 กิโลโอหม์
Input Current สำ�หรับรุ่น PQM510 CT Type xxxx/ 5A หรือ / 1A
VOLT
0.2 % OF READING
AMP
0.2 % OF READING
KW
0.5%
KVAR
0.5%
KVA
0.5%
PF
+/- 0.2 DEGREE
KW-H
0.5 %
KVAR-H
0.5 %
FREQUENCY
0.1 HZ
Built-in COMMUNICATION
ชนิด
RS485
รูปแบบข้อมูล
1 Start bit ,8 Data bit
1 หรือ 2 Stop bit
Parity none,odd,even
อัตราความเร็ว
1200, 2400, 4800, 9600
และ 19200 bit/sec
ชนิด
Current Transformer Primary 5000A Max.
Current Transformer secondary 1 หรือ 5 A
Protocol
Modbus RTU
ย่านกระแสที่วัด
5Amp / Phase ; 0.1VA
ISOLATE
Digital Isolate (2.5KV)
Permanent Overload
7 Amp/ Phase
# Node
32 unit / Network
2
การดูค่าทางไฟฟ้าที่สามารถวัดได้จากหน้ามิเตอร์(1)
กดปุ่ม
U1, U2, U3 แสดงค่าแรงดันไฟฟ้าแต่ละเฟส (LINE TO NEUTRAL) (หน่วย:VOLT)
ตัวอย่างเช่น U1 = 228.5 VOLT ; U2 = 227.6 VOLT ; U3 = 230.1 VOLT
U12, U23, U31 แสดงค่าแรงดันไฟฟ้าระหว่างเฟส (LINE TO LINE) (หน่วย:VOLT)
ตัวอย่างเช่น U12 = 392.4 VOLT ; U23 = 391.8 VOLT ; U31 = 393.1 VOLT
I1, I2, I3 แสดงค่ากระแสไฟฟ้าแต่ละเฟส (หน่วย:AMP)
ตัวอย่างเช่น I1 = 1.017 AMP ; I2 = 5.532 AMP ; I3 = 6.415 AMP
In แสดงค่ากระแสที่ NEUTRAL (NEUTRAL CURRENT) (หน่วย:AMP)
ตัวอย่างเช่น IN = 0.011 AMP
***เมื่อเปลี่ยนเป็นโหมด 4L4CT จะมีแปรเพิ่มขึ้นมาคือ I SUM และ I LEAK
โดยที่ I Neutral ได้จากการวัดจริง จาก CT ตัวที่ 4 (CT Neutral)
I SUM คือผลรวมทางเวคเตอร์ของกระแส I1+I2+I3 = I SUM
I LEAK ค่ากระแสรั่วไหล (I SUM) - (In) = I LEAK
ค่ามุมที่แสดง สามารถน�ำไปใช้ เพื่อตรวจสอบการเดินสายของแรงดัน R-S-Tได้
A.U12, A.U23, A.U31 (ANGLE Voltage) (หน่วย:DEGREE)
ใช้ตรวจสอบการเรียงเฟสแรงดันที่ต่อเข้ามา หากเข้าเฟสผิดจะมี LED แสดง Status
ผิดปกติ Reverse Phase ติดอยู่ ให้ด�ำเนินการแก้ไข โดยค่าต้องได้ไกล้เคียงกับด้านล่าง
- A.U12 แสดงมุมระหว่าง แรงดันเฟส 1 กับ เฟส 2 (จะต้องมีค่าประมาณ 120 องศา )
- A.U23 แสดงมุมระหว่าง แรงดันเฟส 2 กับ เฟส 3 (จะต้องมีค่าประมาณ 120 องศา )
- A.U31 แสดงมุมระหว่าง แรงดันเฟส 3 กับ เฟส 1 (จะต้องมีค่าประมาณ 240 องศา )
A.I12, A.I23, A.I31 (ANGLE Current) (หน่วย:DEGREE)
- A.I12 แสดงมุมระหว่าง กระแสเฟส 1 กับ เฟส 2 (จะต้องมีค่าประมาณ 120 องศา )
- A.I23 แสดงมุมระหว่าง กระแสเฟส 2 กับ เฟส 3 (จะต้องมีค่าประมาณ 120 องศา )
- A.I31 แสดงมุมระหว่าง กระแสเฟส 3 กับ เฟส 1 (จะต้องมีค่าประมาณ 240 องศา )
A.UI.1, A.UI.2, A.UI.3 (ANGLE Voltage - Current) (หน่วย:DEGREE)
ใช้ตรวจสอบการต่อ CT เข้ามาหลังจากต่อแรงดันเรียบร้อยแล้ว ต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไข
- แรงดันต้องเรียงเฟสแล้ว และ ขั้ง CT l-k ถูกต้อง
- กระแสต้องสอดคล้องกับเฟสแรงดัน เช่น I1 เทียบ V1 , I2เทียบ V2 , I3 เทียบ V3
- A.UI1 แสดงมุมระหว่าง แรงดันและกระแส เฟส 1 (จะต้องมีค่า 300 < องศา < 60 )
- A.UI2 แสดงมุมระหว่าง แรงดันและกระแส เฟส 2 (จะต้องมีค่า 300 < องศา < 60 )
- A.UI3 แสดงมุมระหว่าง แรงดันและกระแส เฟส 3 (จะต้องมีค่า 300 < องศา < 60 )
3
การดูค่าทางไฟฟ้าที่สามารถวัดได้จากหน้ามิเตอร์(2)
กดปุ่ม
แสดงค่าก�ำลังไฟฟ้าจริงแต่ละเฟส(ACTIVE POWER) (หน่วย: W)
ตัวอย่างเช่น P1 = 6.9 KW ; P2 = 6.8 KW ; P3 = 6.8 KW
*** หลอด LED-K มุมบนขวาติดแปลว่าค่านี้มีหน่วยเป็น Kilo , LED-M ติด =Mega
แสดงค่ากำ�ลังไฟฟ้าแฝงแต่ละเฟส (REACTIVE POWER) (หน่วย:VAR)
ตัวอย่างเช่น Q1 = 8.4 KVAR ; Q2 = 8.4 KVAR ; Q3 = 8.5 KVA
*** หลอด LED-K มุมบนขวาติดแปลว่าค่านี้มีหน่วยเป็น Kilo , LED-M ติด =Mega
แสดงค่ากำ�ลังไฟฟ้าปรากฎแต่ละเฟส(APPARENT POWER) (หน่วย:VA)
ตัวอย่างเช่น S1 = 7.0 KVA ; S2 = 7.0 KVA ; S3 = 7.0 KVA
*** หลอด LED-K มุมบนขวาติดแปลว่าค่านี้มีหน่วยเป็น Kilo , LED-M ติด =Mega
IP Power Meter
IPM310x Series
แสดงค่ากำ�ลังไฟฟ้าจริงรวม(TOTAL ACTIVE POWER) (หน่วย: W)
แสดงค่ากำ�ลังไฟฟ้าแฝงรวม(TOTAL REACTIVE POWER) (หน่วย: VAR)
แสดงค่ากำ�ลังไฟฟ้าปรากฏรวม(TOTAL APPARENT POWER) (หน่วย: VA)
ตัวอย่างเช่น Pt = 21.8 KW ; Qt = 1.6 KVAR ; St = 21.8 KVA
การดูค่าทางไฟฟ้าที่สามารถวัดได้จากหน้ามิเตอร์(3)
กดปุ่ม
แสดงค่าตัวประกอบก�ำลังไฟฟ้าแต่ละเฟส(POWER FACTOR) (หน่วย: ไม่มี)
ตัวอย่างเช่น PF1 = 1.000 ; PF2 = 1.000 ; PF3 = 1.000
*** ในกรณีที่ กระแสน�ำหน้า แรงดัน(Lead) จะปรากฎตัวอักษร c (Capacitive) ตัวเล็ก
ข้างหน้า เช่น กระแสน�ำหน้า จะเห็นข้อมูลเป็น PF2 c0.99 เป็นต้น
PFT แสดงค่าตัวประกอบก�ำลังไฟฟ้ารวม (TOTAL POWER FACTOR)
%ALD เปอร์เซนต์โหลด กระแส (% Amp Load) โดยคิดจากตัวแปร Current nominal
%PLD เปอร์เซนต์โหลด ก�ำลังไฟฟ้า (% Power Load) Kilowatt nominal
ตัวอย่างเช่น ผู้ใช้ต้องก�ำหนดค่า %A.LD , %P.LD ที่พิกัดใช้งาน เช่น
I nominal ที่ 100% ก�ำหนดไว้ 200A ,ขณะนั้นวัดได้ 50A =>%ALD =25% Full Load
P nominal ที่ 100% ก�ำหนดไว้ 100KW ,ขณะนั้นวัดได้ 50A =>%PLD =50% Full Load
แสดงค่าความถี่ทางไฟฟ้า (FREQUENCY) (หน่วย:Hz)
ตัวอย่างเช่น F1 = 50.0 Hz ;F2 = 50.0 Hz ;F3 = 50.0 Hz
4
การดูค่าทางไฟฟ้าที่สามารถวัดได้จากหน้ามิเตอร์(4)
กดปุ่ม
Pd.bL = Power Demand Block เฉลี่ย 15 นาที ช่วงเวลาลงท้ายด้วย 00,15,30,45นาที
เช่น 13:00 , 13:15 , 13:30, 13:45, 14:00 เป็นต้น ปัญหาคือนาฬิกาของมิเตอร์กับการ
ไฟฟ้ามักไม่ตรงกัน ค่า KwDemand จึงมีความผิดพลาดสูง เพราะเริ่มการเฉลี่ยคนละเวลา
Pd.SL = Power Demand Slide เฉลี่ย 15นาที (Moving Average เฉลี่ยย้อนหลัง15นาที)
จะมองเวลาปัจจุบันเป็น t0 จากนั้นเอาข้อมูลย้อนหลัง 15นาที มาเฉลี่ย ได้ข้อมูลมา1จุด,
ข้อมูลวินาทีถัดไปก็จะตัดข้อมูลแรกสุดแล้วเฉลี่ยใหม่ ได้ข้อมูลมาอีก1จุด ดังนั้น Kw
Demand จึงเป็น Real Time ตลอดเวลา และใกล้เคียงกับมิเตอร์การไฟฟ้ามากที่สุด
ToU.o -->Peak Demand ช่วง ON-PEAK
ToU.F -->Peak Demand ช่วง OFF-PEAK
ใช้ค่า Demand แบบ slide ร่วมกับรอบของ 15นาที มาเป็นตัวจัดเก็บ (ปัจจุบันใช้ TOU)
แสดงค่าความต้องการการใช้พลังงานเฉลี่ยสูงสุด 15นาที ในแบบของ TOD (แบบเก่า)
Time of Day (Peak Power Demand) (หน่วย:KW)
Tod.P -->Peak Demand ช่วง PARTIAL-PEAK ช่วงเวลา 08:00 - 18:30 น ทุกวัน
Tod.o -->Peak Demand ช่วง ON-PEAK ช่วงเวลา 18:30 - 21:30 น ทุกวัน
Tod.F -->Peak Demand ช่วง OFF-PEAK ช่วงเวลา 21:30 - 08:00 น ทุกวัน
แสดงค่าความต้องการการใช้พลังงานแฝงเฉลี่ยในรอบ15นาที และ ค่าสูงสุดในเดือนนั้น
Q.d.bL (Reactive Demand Block) เฉลี่ยในรอบ15นาที แบบ Blockในเดือนนี้
Q.d.SL (Reactive Demand Slide) เฉลี่ยในรอบ15นาที แบบ Slideในเดือนนี้
Q.d.bK (Reactive Demand Peak) ค่าการใช้พลังงานแฝงเฉลี่ยสูงสุด ในเดือนนี้
Peak Demand หรือ ค่าพลังไฟฟ้าสูงสุด ในแต่ละเดือน คือ ค่าพลังไฟฟ้าเฉลี่ยสูงสุดใน 15 นาทีใด ๆ ในเดือนนั้น ๆ
เช่นถ้าพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีแรกของวันแรกของเดือนใด ๆ เท่ากับ 100 kW และ 15 นาทีถัดไป เท่ากับ 80 kW
มิเตอร์ก็จะบันทึกค่า 100 kW เป็นค่าพลังไฟฟ้าสูงสุด แต่ถ้า 15 นาทีถัดไปเท่ากับ 120 kW มิเตอร์ก็จะบันทึกค่า 120 kW แทน
Power Demand เฉลี่ย 15 นาที แบบ Block จะเริ่มค�ำนวณจากนาทีที่ 0 จนถึงนาทีที่ 15 นับเป็น 1 Block และจะเริ่มนับ Block
ใหม่ต่อไปเรื่อยๆ ในหนึ่งชั่วโมงจะสร้างมา 4 Block โดยจะเริ่มนาทีที่ 0-15 , 15-30 , 30-45 , 45-60 ดังนั้นควรตรวจสอบเวลา
ให้แม่นย�ำอยู่เสมอ
Power Demand เฉลี่ย 15 นาที แบบ Slide จะท�ำการค�ำนวณย้อนหลังโดยนับจากเวลาที่อ่าน ย้อนหลังไปอีก 15 นาที มา
ค�ำนวณ โดยจะอัพเดตใหม่ทุกๆ 2 วินาที ช่วยให้ควบคุม Power Demand ได้ง่ายขึ้น ซึ่งดีกว่าการForeCast ที่ใช้กันอยู่
5
การดูค่าทางไฟฟ้าที่สามารถวัดได้จากหน้ามิเตอร์(5)
กดปุ่ม
แสดงค่าพลังงานไฟฟ้าจริงสะสม (Total Active Energy Accumulation) (หน่วย:Kwh)
ตัวอย่างเช่น EAt Net = 23,456.7 Kwh โดยเริ่มนับตั้งแต่มิเตอร์นี้ได้มีการติดตั้งครั้งแรก
แสดงค่าพลังงานไฟฟ้าแฝงสะสม (Total Reactive Energy Accumulation) (หน่วย:Kvarh)
ตัวอย่างเช่น ERt Net = 123456.7 Kwh โดยเริ่มนับตั้งแต่มิเตอร์นี้ได้มีการติดตั้งครั้งแรก
แสดงค่าชั่วโมงการท�ำงานสะสม (หน่วย: Hour) ตัวอย่างเช่น Hour = 100000.0 ชั่วโมง
โดยการนับขึ้นอยู่กับค่าตัวแปร A.Min ที่ก�ำหนดในCodee1000
LED แสดงสถานะ
7segment สีแดงแถวล่าง ใช้แสดงค่าหลายชนิด โดยมี 8 LEDแถวล่างบอกค่า
Led Kwh/ Kvarh/ Hour ทางขวา จะเป็นตัวบอกหน่วยที่แสดงค่าในตอนนี้
Kwh =Kwh สะสม คิดแบบ Total (รวม Fundamental+Harmonics)
Kvarh =Kvarh สะสม คิดแบบ Total (รวม Fundamental+Harmonics)
Hour = แสดงค่าชั่วโมงการท�ำงานสะสม ท�ำงานโดยอิงกับค่ากระแส (หน้า 13)
Clock = แสดงวัน:เดือน, ชั่วโมง:นาที
IN1 = สถานะอินพุท 1 ที่เข้ามาทาง Terminal ด้านหลัง
IN2 = สถานะอินพุท 2 ที่เข้ามาทาง Terminal ด้านหลัง
Out1 = สถานะการท�ำงานของ Output Relay 1
Out2 = สถานะการท�ำงานของ Output Relay 2
8LED สีแดงแถวล่างสุด ใช้แสดงค่าสภาวะผิดปกติ (ดูการตั้งค่าหน้า 14 -15)
Uv = เกิดสภาวะ U1 U2 U3 เฟสใดเฟสหนึ่ง < Under Volt Setpoint
Ov = เกิดสภาวะ U1 U2 U3 เฟสใดเฟสหนึ่ง > Over Volt Setpoint
Ub = เกิดสภาวะ Phase Voltage UnBalance
Rev = เกิดสภาวะ Phase Voltage Reverse
Open = เกิดสภาวะ Phase Voltage Open
Uc = เกิดสภาวะ IPhase1 IPhase2 IPhase3 เฟสใดเฟสหนึ่ง < UC setpoint
Oc = เกิดสภาวะ IPhase1 IPhase2 IPhase3 เฟสใดเฟสหนึ่ง > OC setpoint
Ph-Abn = Phase Current เข้าสายไม่ตรงกับ Phase Voltage
การเข้าสายที่ถูกต้อง I1 ต้องสอดคล้อง V1, I2 ต้องสอดคล้อง V2, I3 ต้องสอดคล้อง V3 การเข้าสลับเฟส ท�ำให้หมุนเลื่อน
ไปอีก 120 / 240 องศา ท�ำให้การค�ำนวณ PF, KW, KVAR, KVA ผิดไปหมด
***** จุดสังเกตุว่าเข้าสายแรงดัน R/S/T ไม่เรียงเฟส 123 , 231, 312 หลอด PH-REV จะติด
***** จุดสังเกตุว่าเข้าสายกระแส CT ไม่เรียงตามแรงดันเฟส หลอด PH ABN จะติด (ขั้ว CT l- k จะต้องเข้าให้ถูกด้วย)
6
IP Power Meter
IPM310x Series
แสดงค่าปฎิทินเวลาของมิเตอร์ (ต้องก�ำหนดให้ตรงกับมิเตอร์การไฟฟ้าถ้าสามารถท�ำได้ )
ตัวอย่างเช่น วันที่ 21 เดือน 10 ; เวลา 23:55 นาฬิกา
Quick Start : Web Page User interface (การกำ�หนดตัวแปรผ่านทาง Web Browser)
เริ่มจากการก�ำหนด IP ADDRESS ของคอมพิวเตอร์ให้อยู่วงเดียวกับมิเตอร์
ขั้นตอนการตั้งค่า IP Address (IP Meter = 192.168.0.244)
>> เข้ามาที่ Network Center คลิก Local Area Connection
>> จะเข้ามายัง Local Area Connection Status คลิก Property
>> คลิก TCP/IPv4
>> คลิก Property
>> ก�ำหนด IP Address โดยจะต้องเป็น 192.168.0.x , x = 1-254
และห้ามใช้ 244 เพราะจะซ�้ำกับมิเตอร์
>> ก�ำหนด Subnet Mask เป็น 255.255.255.0
>> ค่า Default Gateway จาก router
>> กด OK
7
เปิดโปรแกรม Web Browser โดยพิมพ์ IP Address ของมิเตอร์ 192.168.0.244 ซึ่งเป็น Default มาจากโรงงาน จากนั้นกด
ENTER เข้าไปยังหน้าแรก ใส่ User Name = admin , ส่วน Password ไม่มี ไม่ต้องใส่
IP Power Meter
IPM310x Series
เมื่อเข้ามายังหน้าแรกซึ่งจะแสดงในส่วนของ Data Monitor ที่เป็นtab>General Value => V , I , HZ, KW, KVAR ,KVA,pF
Click TAB >> DATA MONITOR >> General Value เพื่อดูค่าที่ก�ำลังวัดอยู่ในแบบ Real Time ,Update ทุก 1 วินาที
- แสดง Parameter ที่เกี่ยวข้องกับการวัด
- แสดงค่าที่วัดได้เป็นแบบ Real Time
- เมื่อเปลี่ยนโหมดการวัดเป็น 4L4CT (4 Line 4 Current Transformers) จะมีตัวแปร I SUM (ผลรวมทางเวคเตอร์ของ
กระแส) และ I LEAK (Leak Current ค่ากระแสรั่วไหล) เพิ่มขึ้นมา โดย I Neutral ได้จากการวัดจริงจาก CT ตัวที่ 4
8
Click TAB >> DATA MONITOR >> Energy ดูค่าพลังงานที่วัดแบบรวม- รายเฟส , Import(รับไฟเข้า) -Export (จ่ายไฟ)
Click TAB >> DATA MONITOR >> Power Demand เพื่อดูค่า Demand ที่วัดอยู่ในแบบ Real Time ,Update ทุก 1 วินาที
- แสดง Power Demand (Kw) (Kvar) แบบ Block, Slide
- แสดง Peak Power Demand (Kw) ประเภท TOU (ใช้ในปัจจุบัน), TOD (เฉพาะ รง.เก่า)
Click TAB >> STATUS ดูสภาวะการท�ำงาน และสภาวะของ 2 Input และ 2 Output Relay
>> Input Status 1,2 และ Relay Output Status สามารถส่งสถานะแบบ Peer to Peer ไปยัง Ethernet output, IP Mimic ซึ่งอาจ
จะติดตั้งในห้องควบคุม หีือ ห้องช่าง เพื่อแสดงสถานะต่างๆผ่านวงแลน โดยไม่ต้องลากสายเพิ่มใดๆ เพียงแค่ Tick Enable
และ ก�ำหนด IP ปลายทาง , Port และ บิทเอาท์พุทของ IP Device เท่านั้น
>> Voltage Fail , Current Fail ใช้ดูสถานะของความผิดปกติ ซึ่งจะสอดคล้องกับ LED ที่อยู่ด้านหน้ามิเตอร์
>> Power Demand แบบ Slide มีค่ามากกว่า Setpoint ผู้ใช้สามารถใช้สั่งให้รีเลย์ท�ำงานขับไฟหมุนเพื่อชลอการป้อนโหลดได้
9
Click TAB >> Status History ดูสภาวะการท�ำงานของ Remote 2 Input และ 2 Output Relay และการเกิดไฟกระ
พริบ Voltage Sag, Voltage Swell สูงถึง 500 เหตุการณ์ (เก็บแบบ First in First out ) Download file เปิดบน EXCEL ได้
IP Power Meter
IPM310x Series
Click TAB >> Report >> Daily Report ส�ำหรับวันนี้ และ วันที่มีการใช้งานมิเตอร์ย้อนหลัง รวมทั้งหมด 500 วัน
เก็บแบบ First in First out , Download file เปิดบน EXCEL ได้ทันที ( เป็น XML ไฟล์ )
Click TAB >> Report >> Monthly Report ส�ำหรับเดือนนี้ และ เดือนที่ผ่านมา รวม 120 เดือน ( 10ปี )
เก็บแบบ First in First out , Download file เปิดบน EXCEL ได้ทันที ( เป็น XML ไฟล์ )
Status History, Daily Report,Monthly Report สามารถบันทึกไฟล์ออกมาเป็น XML Document น�ำมาเปิดใน Excel
ได้ โดยน�ำ mouse ไปชี้ที่ Export Status History (Click Right Mouse) แล้วคลิดขวา เลือก Save Link As...(Save
Target as ) เป็นการบันทึกไฟล์ลงบนคอมพิวเตอร์ โดยไฟล์ที่ได้จะเป็นนามสกุล .xml
10
*** การกดปุ่ม Change ด้านล่างเป็นเพียงการเขียนข้อมูลลงหน่วยความจ�ำชั่วคราวเท่านั้น มิเตอร์ยังไม่น�ำ
ข้อมูลใหม่มาใช้จนจะมีการกดปุ่ม SAVE & REBOOT ที่อยู่ใน TAB >> System config
Click TAB >> Parameter >> Parameter Setting
เพื่อก�ำหนดค่าพารามิเตอร์ต่างๆ เช่น Mode , PT Ratio , CT Ratio , ค่า Amp Min เพื่อ ActiveHour Meter , Pulse output,
Power Demand Block ,Data Loging time เวลาที่บันทึกค่าลง Memory กรณีที่ซื้อเพิ่ม Data Logger
- Mode Connection ก�ำหนดรูปแบบการต่อใช้งาน เช่น 4 Line 4 CT , 4 Line 3 CT, 3 Line 3 CT เป็นต้น
- PT Ratio (PT1/PT2) ก�ำหนดอัตราส่วนของ POTENTIAL TRANSFORMER (PT) ที่ต่อใช้งาน
ตัวอย่าง: ต่อไฟแรงดันตรง 380V =>ให้ตั้ง 380 ,
แต่ถ้าต่อร่วมกับ PT 22KV ออก 220V => PT Ratio = 22000/220 = 100.0 =>ให้ตั้ง 100.0
- CT Phase 1/2/3 Primary Side (Amp) ก�ำหนดขนาด CURRENT TRANSFORMER ที่ต่อใช้งานด้าน Primary
ตัวอย่าง: CT ขนาด 1500/ 5A ==>ให้ตั้ง 1500
- CT Phase 1/2/3 Secondary Side (Amp) ก�ำหนดขนาด CURRENT TRANSFORMER ที่ต่อใช้งานด้าน Secondary
ตัวอย่าง: CT ขนาด 1500/ 5A ==>ให้ตั้ง 5A หรือ CT 1500/ 1A ==>ให้ตั้ง 1A
- CT Leakage/Neutral Primary Side (Amp) ก�ำหนดขนาด CT ตัวที่ 4 ในกรณีใช้โหมด 4 Line 4 Current Transformer
- Voltage Nominal (V) ก�ำหนดแรงดันใช้งานปกติ ใช้เป็น Base ของ Over/Under/Unbalance Voltage ที่ใช้หน่วย Per Unit
ตัวอย่างเช่น ใช้กับระบบไฟ 220V ในกรณีนี้ Voltage Nominal = 220 V ถือเป็นจุดที่มีค่า = 1.0 Per Unit
- Current Nominal (A) ก�ำหนดกระแสใช้งานปกติ ใช้เป็นBase ของ Over/Under Current และ %A Load ที่ใช้หน่วย PerUnit
ตัวอย่างเช่น ระบบที่มีหม้อแปลงจ่ายกระแสได้ 1500A ในกรณีนี้ Current Nominal =1500A ถือเป็นจุดที่มีค่า = 1.0 Per Unit
- Power Nominal (KW) ก�ำหนดก�ำลังไฟฟ้าช่วงปกติ โดยใช้ในการค�ำนวณ % Power Load
ตัวอย่างเช่น Full Load System 1000 KW ในกรณีนี้ Power Nominal =1000 KW เป็นจุดที่มีค่า = 1.0 Per Unit
- Min Current To Active Hour Motor (A) ก�ำหนดค่ากระแสต�่ำสุด โดยมีค่ามากกว่า หรือ เท่ากับ 0 แอมป์ และมีค่าน้อยกว่า
หรือเท่ากับค่า Under Current, เป็นจุดที่ใช้จับเวลานับชั่วโมงท�ำงาน เมื่อใดก็ตามที่กระแสโหลดมีค่า >ค่า Min Current,ค่า
Hour จะเริ่มนับต่อจากครั้งที่แล้ว และหยุดนับเมื่อกระแสโหลดใช้งานต�่ำกว่าค่า Min Current To Active Hour Motor
- Measure Even Harmonic ไม่รองรับในรุ่นนี้
- Unit Harmonic ไม่รองรับในรุ่นนี้
- Kw Demand Time Slide(Min) ก�ำหนดค่าการค�ำนวณ Demand Time , ประเทศไทยใช้วิธีคิดค่าเฉลี่ย 15 นาที
- Data Logging Time(sec) ก�ำหนดค่าการสั่งบันทึกข้อมูลลงในหน่วยความจ�ำ SD Card (เฉพาะรุ่นที่มี Data Logger เท่านั้น)
- Imp Pulse source ตั้งให้หลอด IR ที่อยู่หน้ามิเตอร์ท�ำงาน เพื่อใช้ในการสอบเทียบ Kwh , Kvarh , Kvah
โดยจ่าย 2000 Pulse ต่อ 1 หน่วย
11
IP Power Meter
IPM310x Series
Click TAB >> Parameter >> Analog output
เพื่อก�ำหนดค่าพารามิเตอร์ส�ำหรับ Analog output card (option) ผู้ใช้สามารถเลือกค่าตัวแปรที่ต้องการส่งออกภายนอก เช่น
U1, U2, U3 ,I1, I2, I3 ,P1, P2, P3, PF1, PF2, PF3, PF-T เป็นต้น นอกจากนี้ยังสามารถก�ำหนดย่านได้เองที่จุด 4mA และ
20mA ได้อย่างอิสระ
Click TAB >> Parameter >> Alarm Setting
Voltage Fail Setting (L-N) (V Nominal เข้าไปแก้ไขที่ Parameter Setting โดยใช้เป็น Base ของค่าที่มีหน่วยเป็น Per Unit)
- Over Voltage(Per Unit) ก�ำหนด Over Voltage เพื่อสั่งตัดการท�ำงาน Relay 1,2 ตัวอย่างเช่น Over Voltage = 1.10 (Per
Unit) V Nominal = 220 เมื่อคิดเป็นหน่วย Volt ก็คือ 1.10 x 220 จะได้เป็น 242 Volt ดังนั้นเมื่อใดก็ตามที่มีแรงดันไฟฟ้าใน
เฟสใดเฟสหนึ่ง(L-N) มีค่าสูงกว่า 242 V เป็นเวลานานอย่างต่อเนื่อง = Delay On Time(sec) Output Relay จะท�ำงาน และจะ
รอจนกว่าแรงดันไฟฟ้ากลับสู่ระดับปกติที่ต�่ำกว่า 242 โวลท์ เป็นเวลานานอย่างต่อเนื่อง =Delay Off Time(sec) พร้อมกับมี
การกดปุ่มรีเซทที่ด้านหน้าปัทม์ (กรณีก�ำหนดให้การรีเซทเป็นแบบ Manual) Output Relay จะหยุดท�ำงาน
- Under Voltage (Per Unit) ก�ำหนด Under Voltage เพื่อสั่งตัดการท�ำงาน Relay 1,2
EX: V nominal = 220 , Under Voltage setpoint = 0.9 => 220*0.9 PU = 198V
- Unbalance Voltage (%) ก�ำหนด Unbalance Voltage เพื่อสั่งตัดการท�ำงาน Relay 1,2 ตามมาตรฐาน NEMA
EX: 3PH3Wire Vab = 380 , Vbc = 385 , Vca =392 --> Vaverage = ( 380 + 385 + 392) / 3 = 385.66 V
Volt UnBalance = Vmax / Vaverage = (392 / 385.66) = 1.016 %
EX: 3PH4Wire Van = 220 , Vbn = 224 , Vcn =230 --> Vaverage = ( 220 + 224 + 232) / 3 = 225.33 V
Volt UnBalance = Vmax / Vaverage = 232 / 225.33 = 1.029 %
- Delay on Time (sec) ก�ำหนดค่าหน่วงเวลาของการตรวจพบความผิดปกติของ Under / Over / UnBalanceVoltage โดย
ต้องพบความผิดปกติอย่างต่อเนื่องนาน >Delay on Time วินาที Output Relay จะท�ำงาน
- Delay Off Time (sec) ก�ำหนดค่าหน่วงต่อกลับอีกครั้งของรีเลย์เมื่อมีการปุ่มรีเซทบวกกับระบบแรงดันไฟฟ้าเป็นปกติ
อย่างต่อเนื่องนาน >Delay Off Time วินาที จึงสั่ง Output Relay หยุดท�ำงาน
12
- Voltage Sag Level (Per Unit) Range 0.1 - 0.8 ไม่รองรับในรุ่นนี้
- Voltage Sag Cycle (Half Cycle) ไม่รองรับในรุ่นนี้
- Voltage Swell Level (Per Unit) Range 1.1- 1.8 ไม่รองรับในรุ่นนี้
- Voltage Swell Cycle (Half Cycle) ไม่รองรับในรุ่นนี้
Current Fail Setting (I Nominal เข้าไปแก้ไขที่ Parameter Setting โดยใช้เป็น Base ของค่าที่มีหน่วยเป็น Per Unit)
- Over Current (Per Unit) ก�ำหนด Over Current เพื่อสั่งตัดการท�ำงาน Relay 1,2
- Under Current (Per Unit) ก�ำหนด Over Current เพื่อสั่งตัดการท�ำงาน Relay 1,2
- Delay on Time T3 (sec) ก�ำหนดค่าหน่วงเวลาของการตรวจพบความผิดปกติของ Over / Under Current โดยต้องพบความ
ผิดปกติอย่างต่อเนื่องนาน >Delay on Time วินาที Output Relay จะท�ำงาน
- Delay Off Time T4 (sec) ก�ำหนดค่าหน่วงต่อกลับอีกครั้งของรีเลย์เมื่อมีการปุ่มรีเซทบวกกับระบบกระแสไฟฟ้าเป็นปกติ
อย่างต่อเนื่องนาน >Delay Off Time วินาที จึงสั่ง Output Relay หยุดท�ำงาน
- Neutral Current Setpoint(A)
- Leakage Current Setpoint(A)
- Over In,Leakage Current Delay Time(sec)
- Power Demand Setpoint (Kw) กรณีที่ Power demand Setpoint มากกว่าค่า demand เฉลี่ย สามารถส่งสภาวะออกทาง Relay EX: ใช้ขับไฟหมุนแจ้งพนักงานให้ชลอการป้อนโหลด เพราะ Demand Slide สูงเกินค่า Power Demand Setpoint (Kw)
- Lead Time Before 9:00AM(Min) ก�ำหนดการท�ำงานล่วงหน้าของ on-Peak Period ถ้ารีเลย์ 1 หรือ 2 ถูกก�ำหนดให้ท�ำงาน
เป็น on-peak Period ตัวอย่างเช่น Lead Time = 15 นาที นั่นคือรีเลย์เริ่มท�ำงานล่วงหน้า 15นาที ดังนั้นช่วงเวลา On Peak
Period 9:00 -22:00 PM ที่ให้รีเลย์ท�ำงาน จะเปลี่ยนเป็น 8:45 - 22:00 PM แทน ท�ำงานเร็วขึ้น 15นาที เพื่อป้องกันเวลามิเตอร์
กับมิเตอร์การไฟฟ้าเวลาไม่ตรงกัน เมื่อรีเลย์นี้ท�ำงานจะได้หยุดท�ำงาน เพื่อป้องกันการเสียค่า Peak Demand Charge
- Pulse Output For KWH ก�ำหนดค่าพัลส์เอาท์พุทให้ส่ง พัลส์เมื่อมีการใช้ไฟ 0.1 , 1 ,10,100 Kwh/Pulse
Click TAB >> Parameter >> Relay output
เพื่อก�ำหนดฟังก์ชั่นการท�ำงานให้กับ Relay 1 และ 2 อย่างอิสระผู้ใช้สามารถเลือกฟังก์ชั่นการท�ำงานให้กับ Relay
- Relay Output Reset เลือก Reset รีเลย์ว่าเป็นแบบ Auto(รีเซตรีเลย์เมื่อเข้าสู่ภาวะปกติ) Manual (ปุ่มรีเซตที่หน้ามิเตอร์)
1) Voltage Fail= Under/Over/UnBalance/Open Phase/Reverse Phase รีเลย์เป็นแบบ Normal(แรงดันปกติ)--> Relay Active
2) Current Fail = Under / Over Current การท�ำงานเป็นแบบ Abnormal(กระแสผิดปกติ) --> Relay Active
3) Remote ก�ำหนด on-off Relay ผ่าน Network ทาง Modbus TCP/IP หรือ Modbus RTU (ดูตารางการท�ำงานของ Modbus)
4) Pulse ก�ำหนดการท�ำงานให้เป็นการส่ง Pulse xxxx Kwh/Pulse ออกด้านนอก(Alarm Settng>>Pulse Output)
5) Over Power Demand ก�ำหนดการท�ำงานเมื่อ Power Demand แบบ Slide > Power Demand setpoint
6) On Peak Period ส่งสถานะให้รู้ว่าเป็นช่วงเวลา on Peak Perid 9:00 - 22:00 สามารถก�ำหนดช่วงเวลาให้ท�ำงานก่อน
ด้วยตัวแปร on peak relay lead time
7) Off Peak Period ส่งสถานะให้รู้ว่าเป็นช่วงเวลา off Peak Perid 22:00 - 9:00
13
8) Voltage & Current Fail โดยรวมในข้อ 1,2 ไว้ในรีเลย์ตัวเดียว การท�ำงานเป็นแบบ Abnormal (แรงดัน หรือ กระแส ผิด
ปกติ) --> Relay Active
9) Over Neutral ,Leakage Current = ตวจจับกระแสที่ Neutral การท�ำงานเป็นแบบ Abnormal (ผิดปกติ) --> Relay Active
IP Power Meter
IPM310x Series
Click TAB >> Parameter >> Holiday
เพื่อก�ำหนดวันหยุดล่วงหน้า 20 วัน ตามประกาศการไฟฟ้า เพื่อให้การคิดค่าไฟแยก ช่วง on/ off/ Holiday
โดยวันหยุดที่ประกาศ ถ้าอยู่ในช่วง จันทร์ - ศุกร์ การคิดค่าไฟจะถือเป็นอัตราเดียวกับวันเสาร์ - อาทิตย์
Click TAB >> Parameter >> Serial Communication RS485 Modbus RTU
RS485 ลองรับ 2 โหมด คือ 1) Modbus Slave 2) Modbus Gate Way
1) Modbus Slave ก�ำหนดให้มิเตอร์ท�ำงานเป็น Slave Node ผู้ใช้ต้องก�ำหนด Node Connection ของการสื่อสาร , Baud rate ,
Parity Bit , Parity Bit , Stop Bit ให้สอดคล้องกับ Master Node ซึ่งอาจจะเป็น PLC / SCADA
2) Modbus Gateway ก�ำหนดให้มิเตอร์ท�ำงานเป็น Transparent Node ผู้ใช้ PLC / SCADA สามารถส่งค�ำสั่ง Modbus TCP
ผ่านแลนมาเข้ามิเตอร์ ทะลุออกทาง RS485 โดยแปลงเป็น Modbus RTU ลงไปยัง Slave Device ที่ต่อร่วมกับ RS485 Port
14
Click TAB >> Network
- ก�ำหนด DEVICE NAME ควรใช้เป็น ภาษาอังกฤษ / ชื่อนี้จะแสดงอยู่บนหัวเว็บมิเตอร์ เช่น ติดตั้งที่ตู้ MDB1 ใส่ MDB1
- IP address , Subnet mask , Default gateway , DNS Server , Ethernet Link ก�ำหนดให้ตรงกับ Network ที่ใช้งานอยู่
- DHCP Client Enable ควรตั้งเป็น No เพื่อป้องกันการซ�้ำกันของ IP ในวง Lan ถ้าตั้ง Yes มิเตอร์จะรอการแจก IP จากระบบ
- Physical address (MAC Address) ไม่สามารถปรับเปลี่ยนได้
- Http Server Port ปกติจะเป็น 80
- Modbus TCP/IP Port ปกติจะเป็น 502
- FTP Port ก�ำหนด Port ส�ำหรับรับรับส่งข้อมูล ปกติจะเป็น 21
- NTP Network Time Protocol ก�ำหนด Server Name ที่จะใช้ซิงค์เวลาให้มิเตอร์ เช่น สถาบันมาตรวิทยาคลอง 6 ให้ตั้ง
เป็น time1.nimt.or.th หรือ time2.nimt.or.th กรณี ตั้ง PC TIME SERVER ผู้ใช้ต้องติดตั้งโปรแกรม NTP ด้วย
- GMT ปรเทศไทยใช้ GMT +7.00
- Syns Period (Minutes) ก�ำหนด ความถี่ ส�ำหรับการ syns กับ Time Server ปกติ วันละ 1 ครั้ง ก็ถือว่าใช้ได้แล้ว.
15
การตั้งค่าจากทางหน้ามิเตอร์
กดปุ่ม
ค้างนาน 3 วินาที
ก�ำหนดรหัสผ่าน(การปรับเปลี่ยนค่าดู Note-1ด้านล่าง) รหัสที่ใช้มีดังนี้
1000 ส�ำหรับก�ำหนดค่าพารามิเตอร์ทั่วไป
2000 ส�ำหรับรีเซทค่าเก็บสะสมเช่น Ea, Er, TOU , TOD, Hr
3000 ส�ำหรับตั้งค่าพารามิเตอร์เพื่อการติดต่อสื่อสาร
4000 ส�ำหรับตั้งค่าพารามิเตอร์ Analog out 4-20mA
5000 ส�ำหรับตั้งค่าพารามิเตอร์ Realy output 1 / 2
6000 ส�ำหรับตั้งค่าพารามิเตอร์ วันหยุดประจ�ำปี
7000 ส�ำหรับตั้งค่าพารามิเตอร์ Ethernet port เช่น IP Address, Subnet mask, Gateway, Mac address
7100 ส�ำหรับรีเซต Password และ User Name ให้กลับมาเป็นค่าจากทาง Factory
8000 ก�ำหนดช่วงเวลา TOU , TOD และ ก�ำหนด วันท�ำงาน
Note-1: ทุกครั้งที่มีการกระพริบของตัว DISPLAY ปุ่มที่ใช้ส�ำหรับตั้งค่ามีดังนี้
ใช้เลื่อนซ้าย / ขวา ไปยังหลักถัดไป
ใช้เพิ่ม / ลด ข้อมูลในหลักที่ก�ำลังกระพริบอยู่
ใช้เพื่อยืนยันการเปลี่ยนแปลงข้อมูลของตัวแปรที่ก�ำลังตั้งค่าในขณะนี้
16
IP Power Meter
IPM310x Series
Click TAB >> System Configuration
1) Save&Reboot Configuration ใช้ Save การเปลี่ยนพารามิเตอร์ทั้งหมดพร้อม Reboot การท�ำงาน **(ทุกครั้งที่เปลี่ยน Parameter ต้อง SAVE&REBOOT มิเตอร์จึงจะน�ำเอา parameter ใหม่มาใช้งาน)
2) Restore Factory Defaults เปลี่ยนพารามิเตอร์ให้กลับมาเป็น Default
3) Date&Time วันเวลาสามารถ sync ได้เมื่อเชื่อมต่ออยู่บน ADSL
4) Change Date&Time ในกรณีที่ไม่ได้เชื่อมต่อกับ Internet สามารถก�ำหนดวันเวลาเองได้ **ต้องหมั่นตรวจเชคนาฬิกาด้วย
เนื่องจากนาฬิกาภายในมักจะมีค่าคลาดเคลื่อนในระดับหนึ่ง ควรจะเปลี่ยน Battery (CR2032) ทุก 2 -3 ปี
5) Change Password เปลี่ยน User Name และ Password ให้แตกต่างจากที่โรงงานก�ำหนด * Low level user คือ User ที่
สามารถเข้ามาดูได้เพียง ค่าที่ก�ำลังวัดอยู่ แต่ไม่สามารถแก้ไขพารามิเตอร์ต่างๆ ได้
กรณีลืม User name , Password ผู้ใช้ต้องเข้าทางปุ่มกดหน้ามิเตอร์ที่รหัส 7100 เพื่อท�ำการรีเซท กลับมาเป็น Default Factory
คือ IP : 192.168.0.244 User Name: admin , Password: ไม่ต้องมี
การกำ�หนดค่าตัวแปรทางไฟฟ้าเข้าด้วย Code1000 (กำ�หนดค่าพารามิเตอร์ทั่วไป)
ก�ำหนดรหัสผ่าน(การปรับเปลี่ยนค่าดู Note-1ด้านล่าง)
1000 ส�ำหรับก�ำหนดค่าพารามิเตอร์ทั่วไป
Note-1: ทุกครั้งที่มีการกระพริบของตัว DISPLAY ปุ่มที่ใช้ส�ำหรับตั้งค่ามีดังนี้
ใช้เลื่อนซ้าย / ขวา ไปยังหลักถัดไป
ใช้เพิ่ม / ลด ข้อมูลในหลักที่ก�ำลังกระพริบอยู่
ใช้เพื่อยืนยันการเปลี่ยนแปลงข้อมูลของตัวแปรที่ก�ำลังตั้งค่าในขณะนี้
ConF ก�ำหนดรูปแบบการต่อใช้งาน กด
เพื่อเปลี่ยนรูปแบบ กด
เพื่อยืนยัน
มีให้เลือก 4 แบบคือ 4 LINE 3 CT , 4 LINE 4 CT , 3 LINE 3 CT , 4 LINE 1 CT
PT ก�ำหนดอัตราส่วน POTENTIAL TRANSFORMERที่ต่อใช้งาน (การปรับเปลี่ยนค่าดูNote-1)
ตัวอย่างเช่น PT -RATIO ด้าน Primary และ Secondary = 100 เท่า การก�ำหนดค่านี้มีผลโดยตรงต่อการ
แสดงค่า U1 ,U2 , U3 และU12 ,U23 , U31ที่หน้าปัทม์มิเตอร์ ค่าแรงดันไฟฟ้าด้านแรงต�่ำที่วัดจะถูกคูณด้วย
อัตราส่วนนี้เพื่อแปลงเป็นค่าทางด้านแรงสูงทันทีแต่ถ้าต้องการแสดง U1 ,U2 , U3 และU12 ,U23 , U31 เป็น
ค่าด้านแรงต�่ำ ให้ PT = 1
CT ก�ำหนดขนาด CURRENT TRANSFORMERที่ต่อใช้งาน(การปรับเปลี่ยนค่าดูNote-1)
ตัวอย่างเช่น CT = 500/5 A ให้ก�ำหนดค่าเป็น 0500 เป็นต้น
CTn ก�ำหนดขนาด CURRENT TRANSFORMER ตัวที่ 4 ที่ต่อใช้งาน(การปรับเปลี่ยนค่าดูNote-1)
ตัวอย่างเช่น CT = 500/5 A ให้ก�ำหนดค่าเป็น 0500 เป็นต้น
VNOM ก�ำหนดค่า Voltage nominal ช่วงปกติของแรงดัน จะถูกน�ำไปให้ เป็น Base ของหน่วย Per unit
เพื่อก�ำหนดจุด Uv/Ov/Ub
INOM ก�ำหนดค่า current nominal ช่วงปกติของกระแส จะถูกน�ำไปให้ เป็น Base ของหน่วย Per unit
เพื่อก�ำหนดจุด Uc/Oc
17
PNOM ก�ำหนดค่า power nominal ช่วงปกติของก�ำลังไฟฟ้า จะถูกน�ำไปให้ เป็น Base
ใช้แสดง % power load
Voltage Fail คือเกิดสภาวะ Under/Over/UnBalance Volt หรือ Open / Reverse Phase
ผู้ใช้งานสามารถโปรแกรมรีเลย์ 1 หรือ 2 ท�ำงาน/รีเซทในโหมด Voltage Fail (ดู Code 5000 ประกอบ)
OV ก�ำหนด Over Voltage เพื่อสั่งตัดการท�ำงานที่ Relay 1/2 ดู Code 5000(การเปลี่ยนค่าดูNote-1)
ก�ำหนดเป็น Per Unit ตัวอย่างเช่น ก�ำหนด current nominal = 220 V ก�ำหนด Ov = 1.10 ดังนั้นค่า Over
Voltage คือ 220 x 1.10 = 242 เมื่อใดก็ตามที่มีแรงดันไฟฟ้าในเฟสใดเฟสหนึ่ง (L-N) มีค่าสูงกว่า 242 V
เป็นเวลานานต่อเนื่อง = t1 วินาที Output Relay จะท�ำงาน และรอจนกว่าแรงดันไฟฟ้ากลับสู่ระดับปกติที่
ต�่ำกว่า 242 โวลท์ เป็นเวลานานต่อเนื่อง =t2 วินาที พร้อมกดปุ่มรีเซทที่ด้านหน้าปัทม์ (กรณีก�ำหนดให้การ
รีเซทเป็นแบบ Manual) Output Relay จะหยุดท�ำงานอีกครั้ง
UB ก�ำหนด UnBalance Voltage เพื่อสั่งตัดการท�ำงานที่ Relay 1/2 ดู Code 5000 (การเปลี่ยนค่าดูNote-1)
ตัวอย่างเช่น UB =20 V เมื่อใดก็ตามที่มีแรงดันไฟฟ้าระหว่างเฟสคู่ใดคู่เฟสหนึ่ง (L-L) มีค่าต่างกัน
มากกว่า 20 โวลท์เป็นเวลานานต่อเนื่อง =t1 วินาที Output Relay จะท�ำงาน และจะรอจนกว่าแรงดันไฟฟ้า
กลับสู่ระดับปกติที่ต่างกันต�่ำกว่า 20 โวลท์ เป็นเวลานานต่อเนื่อง =t2 วินาที พร้อมกดปุ่มรีเซทที่ด้านหน้า
ปัทม์(กรณีก�ำหนดให้การรีเซทเป็นแบบ Manual) Output Relay จะหยุดท�ำงานอีกครั้ง
T1, T2 ก�ำหนดค่าหน่วงเวลาของการตรวจพบความผิดปกติของ Under/Over/UnBalance Voltage โดย
ต้องพบความผิดปกติอย่างต่อเนื่องนาน > t1 วินาที Output Relay จะท�ำงาน และจะต่อกลับอีกครั้งเมื่อมี
การปุ่มรีเซทบวกกับระบบแรงดันไฟฟ้าเป็นปกติ อย่างต่อเนื่องนาน > t2 วินาที จึงสั่ง Output Relay หยุด
ท�ำงานเช่น t1=05 วินาที ; t2 = 05 วินาที (การปรับเปลี่ยนค่าดูNote-1)(ดู Code5000 โดยเลือก Output
ท�ำงานเป็นโหมด Volt Fail) ** Reverse/Open Phase(แรงดันต�่ำกว่า 70V) จะหน่วงเวลาที่ 3วินาที (คงที่)
OC ก�ำหนด Over Current เพื่อสั่งให้ Output Relay จะท�ำงาน (การปรับเปลี่ยนค่าดูNote-1)
เช่น ตั้งค่า 110 Amp เมื่อมีการใช้กระแสไฟฟ้ามากกว่า 110 Amp เป็นเวลานานมากกว่า t3 วินาที ก็จะให้
Output Relay จะท�ำงาน เพราะถือเป็นสภาวะ Overload , Lock Rotor .
Current Fail คือเกิดสภาวะ Over / Under Current (OverLoad, NoLoad, RunDry ,Low Flow)
ผู้ใช้งานสามารถโปรแกรมรีเลย์ 1 หรือ 2 ทำ�งาน/รีเซทในโหมด Voltage Fail (ดู Code 5000 ประกอบ)
UC ก�ำหนด Under Current เพื่อสั่งให้ Output Relay จะท�ำงาน (การปรับเปลี่ยนค่าดูNote-1)
เช่น ตั้งค่า 30 Amp เมื่อกระแสโหลดซึ่งท�ำงานอยู่ในสภาวะปกติ(เช่น 100A.) อย่างต่อเนื่องนาน > t4
วินาที มิเตอร์จะเริ่มเปิดระบบตรวจสอบ Under Current ถ้ากระแสเริ่มลดลงต�่ำกว่าค่า UC(30Amp)
แต่ยังสูงกว่าค่ากระแสต�่ำสุด (A.Min) และต�่ำอย่างนี้ต่อเนื่องเป็นเวลานานมากกว่า t3, Output Relay จะ
ท�ำงาน เพราะถือเป็นสภาวะ No Load ,LowFlow
18
IP Power Meter
IPM310x Series
UV ก�ำหนด Under Voltage เพื่อสั่งตัดการท�ำงาน Relay 1/2 ดู Code 5000 (การเปลี่ยนค่าดูNote-1)
ก�ำหนดเป็น Per Unit ตัวอย่างเช่น ก�ำหนด Voltage nominal = 220 V ก�ำหนด Uv = 0.80 ดังนั้นค่า Under
Voltage คือ 220 x 0.80 = 176 เมื่อใดก็ตามที่มีแรงดันไฟฟ้าในเฟสใดเฟสหนึ่ง (L-N) มีค่าต�่ำกว่า 176 V
เป็นเวลานานต่อเนื่อง =t1 วินาที Output Relay จะท�ำงาน และรอจนกว่าแรงดันไฟฟ้ากลับสู่ระดับปกติ
ที่สูงกว่า 176 โวลท์ เป็นเวลานานต่อเนื่อง = t2 วินาที พร้อมกับมีการกดปุ่มรีเซท ที่ด้านหน้าปัทม์ (กรณี
ก�ำหนดให้การรีเซทเป็นแบบ Manual) Output Relay จะหยุดท�ำงานอีกครั้ง
AMIN ก�ำหนดค่ากระแสต�่ำสุด (Amp Minimum) โดยมีค่าสูงกว่า หรือ เท่ากับ >= 0 แอมป์ และ มีค่าต�่ำกว่าหรือ
เท่ากับค่า =<Under Current , ดังนั้นย่านของสภาวะ Under Current อยู่ในช่วงค่าA.Min ถึง UC นั่นเอง
นอกจากนี้เรายังสามารถใช้ค่าA.Min เป็นจุดที่ใช้จับเวลานับชั่วโมงท�ำงานเช่นกัน เมื่อใดก็ตามที่กระแสโหลด
มีค่า >ค่า A.Min,ค่า Hour จะเริ่มนับต่อจากครั้งที่แล้ว และหยุดนับเมื่อกระแสโหลดใช้งานต�่ำกว่าค่า A.Min
T3, T4 ก�ำหนดค่าหน่วงเวลาของการตรวจพบความผิดปกติของ Over Current , Under Current ถ้าโหลด
เกิด Over Current อย่างต่อเนื่องนานเท่ากับเวลา t3 วินาที Output Relay ท�ำงานส่วน t4 เป็นตัวก�ำหนดว่า
โหลดต้องท�ำงานเป็นปกติไม่น้อยกว่า t4 จึงจะเริ่มเปิดระบบตรวจสอบสภาวะUnder Current เมื่อกระแส
โหลดเริ่มลดต�่ำลงน้อยกว่าค่า UC เป็นเวลานานมากกว่า t3 จะส่งผลท�ำให้ Output Relay ท�ำงานเนื่องจาก
สภาวะ Under Currrent (ดู Code 5000 โดยเลือก Output ท�ำงานเป็นโหมด Amp)
INSP Neutral Current Setpoint หน่วย แอมป์(A) เพื่อสั่งให้ Output Relay จะท�ำงาน (การปรับเปลี่ยนค่า
ดูNote-1) เช่น ตั้งค่า 10 Amp เมื่อมีกระแสไฟฟ้าที่สายดินมากกว่า 10 Amp เป็นเวลานานมากกว่า t5 วินาที
ก็จะให้ Output Relay จะท�ำงาน
ILSP Leakage Current Setpoint หน่วย แอมป์(A) เพื่อสั่งให้ Output Relay จะท�ำงาน (การปรับเปลี่ยนค่า
ดูNote-1) เช่น ตั้งค่า 1 Amp เมื่อมีกระแสไฟฟ้ารั่วไหลมากกว่า 1 Amp เป็นเวลานานมากกว่า t5 วินาที ก็
จะให้ Output Relay จะท�ำงาน
T5 กำ�หนดค่าหน่วงเวลาของการตรวจพบความผิดปกติของ Neutral Current Setpoint , Leakage Current
Setpoint
ก�ำหนดค่า Power demand Setpoint เพื่อใช้ในการเปรียบเทียบกับค่า Power demand เฉลี่ย 15 นาที กรณีที่
Power demand Setpoint มากว่าค่า demand เฉลี่ย สามารถส่งสภาวะออกทาง Relayโดยตั้งเป็นโหมดov.Pd
Over Power Demand (ดู Program Code 5000) การใช้งาน: ผู้ใช้สามารถใช้เป็น Alarm เตือนว่าขณะนี้
Power Demand ปัจจุบันมีค่าเกินจาก Setpoint ที่ตั้งแล้วใช้กรณีที่ไม่สามารถใช้วิธีปลดโหลดเพื่อโหลด
Demandได้ จึงต้องใช้วิธีแจ้งผ่าน ไฟหมุน หรือ ไซเรนก็ได้
ก�ำหนดค่าพัลส์เอาท์พุทให้ส่งค่าทุก 1พัลส์เมื่อมีการใช้ไฟ 1 หน่วย Kwh ( 1 Pulse = 1Kwh)
การปรับเปลี่ยนค่าท�ำได้โดยการกดปุ่ม
หน้าจอจะเปลี่ยนเป็น 0.1 , 1 ,10,100 Kwh/Pulse
จากนั้นกดปุ่ม เพื่อยืนยัน (ดู Program Code 5000) Relay โดยตั้งเป็นโหมด PULS (Pulse output)
19
กำ�หนดเวลาของการเริ่มปิดบัญชีของเดือนนั้นๆ ตัวอย่างเช่น DD =01 , HH= 00 เมื่อขึ้นวันที่ 1 เวลาเที่ยง
คืน ถือเป็นวันสิ้นสุดของเดือนที่ผ่านมา Monthly Report จะเริ่มการสรุปการใช้พลังงานเดือนที่ผ่านมา
ตั้งเวลาปฎิทินHH/MM/SS ชั่วโมง/นาที/วินาที (ตามตัวอย่างคือ 21: 41: 23)
กด
เพื่อเพิ่มค่า / ลด ครั้งละ1 ต�ำแหน่งที่ก�ำลังกระพริบ
กด
เพื่อเลื่อนซ้าย / ขวา ไปยังต�ำแหน่งหลักถัดไป ที่ต้องการจะปรับเปลี่ยน
กด
เมื่อข้อมูลในทุกหลัก ได้รับการเปลี่ยนแปลงจนครบถ้วนแล้วจึงกดปุ่มยืนยัน
การตั้งเวลามีผลอย่างมากต่อการคิดค่า Power Demand แบบ Block ให้สอดคล้องกันทุก 15 นาที เพื่อการ
ลด Peak demand แบบปลด / ต่อโหลด , ควรตั้งให้ตรงกับมิเตอร์การไฟฟ้า ถ้าสามารถท�ำได้
กำ�หนดค่าการคำ�นวณ Demand Time , ประเทศไทยใช้วิธีคิดค่าเฉลี่ย 15 นาที แบบ Block
ดังนั้น ต้องกำ�หนดค่าให้เป็น 15 นาที เท่านั้น
LGTM Logging Time OPTION : DATA LOGGER (เฉพาะรุ่นที่ติดตั้ง LAN PORT )
ก�ำหนดค่าการสั่งบันทึกข้อมูล(Logging Time) ตัวแปรพารามิเตอร์ที่วัดได้ทั้งหมดลงในหน่วยความจ�ำ
ทุกๆกี่วินาที EX: LG.TM = 60Sec ทุก 1 นาที จะท�ำการกวาดข้อมูลทั้งหมด บันทึกลง SD Card
*** การบันทึกไฟล์จะเก็บในรูปของ TEXT FILE การดึงไฟล์ Data Logger ที่เก็บอยู่
ภายในมิเตอร์ สามารถท�ำได้ 2 วิธี คือ
1) ใช้โปรแกรม Internet Explorer โดยพิมพ์ดังนี้ ftp://192.168.0.244 หรือ IP Address ของมิเตอร์
2) ใช้โปรแกรมประเภท File Transfer Protocol เช่น โปรแกรมชื่อ Fule Zilla ซึ่งสามารถโหลดมาใช้ได้ฟรี
ที่ www.download.com
Address -->192.168.0.244 ; user ID: admin ; Password : ไม่มี
20
IP Power Meter
IPM310x Series
ตั้งเวลาปฎิทิน YY/MM/DD ปี/เดือน/วัน (ตามตัวอย่างคือ วันที่ 29 เมษายน 2009)
กด
เพื่อเพิ่มค่า / ลด ครั้งละ1 ต�ำแหน่งที่ก�ำลังกระพริบ
กด
เพื่อเลื่อนซ้าย / ขวา ไปยังต�ำแหน่งหลักถัดไป ที่ต้องการจะปรับเปลี่ยน
กด
เมื่อข้อมูลในทุกหลัก ได้รับการเปลี่ยนแปลงจนครบถ้วนแล้วจึงกดปุ่มยืนยัน
การกำ�หนดค่าตัวแปรทางไฟฟ้าเข้าด้วย Code2000 (การรีเซทค่าสะสม Kwh , Kvar , TOUD , TOD , Hour)
กดปุ่ม
ค้างนาน 3 วินาที
กดเข้ามาเพื่อท�ำการ รีเซตค่า สะสม
กดเพื่อยืนยันการลบค่า
กดยกเลิกการรีเซทค่าสะสมนี้ แล้วข้ามไปยังตัวแปรถัดไป
RSET ALL - EA การรีเซทค่าสะสม E.A IMPORT , EA EXPORT
, EA NET ,EA ON PEAK,EA OFF PEAK,EA HOLIDAY
ให้กลับเป็น 0
RSET ALL - ER การรีเซทค่าสะสม ENERGY REACTIVE
ทั้งหมด ให้กลับเป็น 0
RSET ALL - DMD การรีเซทค่าสะสม DEMAND ทั้งหมด ให้
กลับเป็น 0
RSET ALL - HR การรีเซทค่า RUN HOUR ให้เป็น 0
Note-1: ทุกครั้งที่มีการกระพริบของตัว DISPLAY ปุ่มที่ใช้ส�ำหรับตั้งค่ามีดังนี้
ใช้เลื่อนซ้าย / ขวา ไปยังหลักถัดไป
ใช้เพิ่ม / ลด ข้อมูลในหลักที่ก�ำลังกระพริบอยู่
ใช้เพื่อยืนยันการเปลี่ยนแปลงข้อมูลของตัวแปรที่ก�ำลังตั้งค่าในขณะนี้
21
การก�ำหนดค่าตัวแปรทางไฟฟ้าเข้าด้วยCode3000 (การก�ำหนดรูปแบบการติดต่อสื่อสารแบบ RS232 / RS485)
กดปุ่ม
ค้างนาน 3 วินาที
Note-1: ทุกครั้งที่มีการกระพริบของตัว DISPLAY ปุ่มที่ใช้ส�ำหรับตั้งค่ามีดังนี้
ใช้เลื่อนซ้าย / ขวา ไปยังหลักถัดไป
ใช้เพิ่ม / ลด ข้อมูลในหลักที่ก�ำลังกระพริบอยู่
ใช้เพื่อยืนยันการเปลี่ยนแปลงข้อมูลของตัวแปรที่ก�ำลังตั้งค่าในขณะนี้
ADD ใช้ก�ำหนด Address เมื่อต้องการติดต่อสื่อสารแบบเครือข่าย ชนิด RS485 (RTU MODBUS
PROTOCOL) สามารถก�ำหนดค่าได้ตั้งแต่ 01- 99 (การปรับเปลี่ยนค่าดูNote-1)
IP Power Meter
IPM310x Series
BAUD ใช้ก�ำหนดความเร็วที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารแบบเครือข่าย ชนิด RS485 (Modbus RTU
Protocol) สามารถตั้งค่าเป็น 1200 , 2400 , 4800 , 9600 ,19200 Bit /Second (การปรับเปลี่ยนค่า
ท�ำได้โดยการกดปุ่ม
หน้าจอจะเปลี่ยนเป็น 1200, 2400, 4800, 9600, 19.2K , 38.4K จาก
นั้นกดปุ่ม เพื่อยืนยัน)
PAR ใช้ก�ำหนดพาริตี้เช็คบิท สามารถตั้งค่าเป็น None , Odd , Even.
(การปรับเปลี่ยนค่าท�ำได้โดยการกดปุ่ม
หน้าจอจะเปลี่ยนเป็น None , Odd , Even.
จากนั้นกดปุ่ม เพื่อยืนยัน)
LEN ใช้ก�ำหนดจ�ำนวนความยาวบิทที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร ก�ำหนดเป็น 8 ไม่สามารถเปลี่ยนได้
ใช้ก�ำหนดStop Bit สามารถตั้งค่าเป็น 1 , 2
(การปรับเปลี่ยนค่าท�ำได้โดยการกดปุ่ม
เพื่อยืนยัน)
หน้าจอจะเปลี่ยนเป็น 1, 2 จากนั้นกดปุ่ม
22
การก�ำหนดค่าตัวแปรทางไฟฟ้าเข้าด้วยCode4000 (การก�ำหนดตัวแปรและย่านส�ำหรับ Analog output 4-20mA)
กดปุ่ม
ค้างนาน 3 วินาที
Note-1: ทุกครั้งที่มีการกระพริบของตัว DISPLAY ปุ่มที่ใช้ส�ำหรับตั้งค่ามีดังนี้
ใช้เลื่อนซ้าย / ขวา ไปยังหลักถัดไป
ใช้เพิ่ม / ลด ข้อมูลในหลักที่ก�ำลังกระพริบอยู่
ใช้เพื่อยืนยันการเปลี่ยนแปลงข้อมูลของตัวแปรที่ก�ำลังตั้งค่าในขณะนี้
ใช้ก�ำหนดตัวแปรที่จะเป็นแหล่งข้อมูลส�ำหรับค่า Analog output 4-20 mA (Aout 1)
ผู้ใช้สามารถเลือกตัวแปรดังต่อไปนี้ (การปรับเปลี่ยนค่าท�ำได้โดยการกดปุ่ม
หน้าจอจะ
เปลี่ยนเป็น U1, U2, U3, I1, I2, I3, P1, P2, P3, Pt , FrQ ,PF1, PF2, PF3, PFT. จากนั้นกดปุ่ม เพื่อ
ยืนยัน)
ใช้ก�ำหนดค่าต�่ำสุดของตัวแปรที่ต้องการให้มิเตอร์จ่ายค่า 4 มิลลิแอมป์ออกมา
ใช้ก�ำหนดค่าสูงสุดของตัวแปรที่ต้องการให้มิเตอร์จ่ายค่า 20 มิลลิแอมป์ออกมา
23
การกำ�หนดค่าตัวแปรทางไฟฟ้าเข้าด้วยCode 5000 (การกำ�หนดฟังก์ชั่นการทำ�งานสำ�หรับ Output Relay 1 , 2)
กดปุ่ม
ค้างนาน 3 วินาที
OP1S/ OP2S Output Source 1/2 ใช้ก�ำหนดการท�ำงานของ Relay สามารถก�ำหนดได้ 8 แบบดังนี้
OFF = ไม่มีการใช้งาน
Volt = ท�ำงานเป็น Phase Protection ด้านแรงดันไฟฟ้า เช่น Under/Over/UnBalance ,Open Phase,
Reverse Phase การท�ำงานเป็นแบบ Normal (แรงดันปกติ) --> Relay Active
Amp = ท�ำงานเป็น Protection ด้านกระแสไฟฟ้า เช่น Under / Over Current / abnormal phase
การท�ำงานเป็นแบบ Abnormal(กระแสผิดปกติ) --> Relay Active
m.Rem = Remote ก�ำหนดการท�ำงานให้เป็นแบบ Remote on-off Relay ผ่าน Network ทั้งทาง
Modbus TCP/IP หรือ Modbus RTU ก็ได้ (ดูตารางการท�ำงานของ Modbus)
Puls = ท�ำงานเป็นตัวจ่ายเอาท์พุทพัลส์ค่า Kwh ให้กับ Totalize ภายนอก
OvPd = ท�ำงานเป็นตัวแจ้งสถานะว่าปัจจุบันPower Demand Average > Pd Setpoint แล้ว
ให้ชลอการต่อโหลด หรือ เริ่มปลดโหลดเพื่อลดค่า Demand
onPK = ท�ำงานเป็นตัวแจ้งสถานะว่าปัจจุบันเข้าสู่ช่วงเวลาที่นับเป็นช่วง on Peak แล้ว
oFPK = ท�ำงานเป็นตัวแจ้งสถานะว่าปัจจุบันเข้าสู่ช่วงเวลาที่นับเป็นช่วง off Peak แล้ว
U-A = โดยรวม Voltage & Current Fail ไว้ในรีเลย์ตัวเดียว การท�ำงานเป็นแบบ Abnormal (แรงดัน
หรือ กระแส ผิดปกติ) --> Relay Active
OP1R/OP2R Output 1/2 Reset ใช้ก�ำหนดวิธีการรีเซทของ Relay 1 สามารถก�ำหนดได้ 2 แบบคือ
Auto = อัตโนมัติ คือเมื่อความผิดปกติหมดไป ให้รีเลย์ Reset ตัวเอง
Manaul = คือเมื่อความผิดปกติหมดไป ให้รีเลย์ Reset ด้วยการกดปุ่มรีเซทด้านหน้ามิเตอร์
Ld.TM Lead Timer ใช้ก�ำหนดการท�ำงานล่วงหน้าของ on-Peak ซึ่งเริ่มต้นที่ 9:00 ตอนเช้า ถ้ารีเลย์
1หรือ2ถูกก�ำหนดให้ท�ำงานเป็น on-peak Period และ ให้ Lead Time = 60 นาทีตามรูป รีเลย์ดัง
กล่าวจะท�ำงานล่วงหน้าก่อน 60 นาที นั่นคือรีเลย์เริ่มท�ำงานที่ 8:00 AM เหมาะกับโรงงานที่มีการ
ผลิตในเวลากลางคืนอย่างเช่นโรงน�้ำแข็ง,โรงฉีดพลาสติก สามารถให้รีเลย์ท�ำงานเตือนก่อนเพื่อเร่ง
เคลียร์ระบบก่อนที่จะเข้าช่วง on Peakเป็นการเลี่ยงการเกิด Peak ค่าไฟได้อีกทางหนึ่ง
Imp pulse souce ใช้กำ�การจ่าย Pulse Infrared ออกมา โดย 1 หน่วยจะจ่ายออกมา 2000 Pulse โดย
สามารถเลือกเป็น Kwh , Kvarh , Kvah
24
IP Power Meter
IPM310x Series
Note-1: ทุกครั้งที่มีการกระพริบของตัว DISPLAY ปุ่มที่ใช้ส�ำหรับตั้งค่ามีดังนี้
ใช้เลื่อนซ้าย / ขวา ไปยังหลักถัดไป
ใช้เพิ่ม / ลด ข้อมูลในหลักที่ก�ำลังกระพริบอยู่
ใช้เพื่อยืนยันการเปลี่ยนแปลงข้อมูลของตัวแปรที่ก�ำลังตั้งค่าในขณะนี้
การก�ำหนดค่าตัวแปรทางไฟฟ้าเข้าด้วยCode 6000 (การก�ำหนดวันหยุดประจ�ำปีตามประกาศของการไฟฟ้า )
กดปุ่ม
ค้างนาน 3 วินาที
Note-1: ทุกครั้งที่มีการกระพริบของตัว DISPLAY ปุ่มที่ใช้ส�ำหรับตั้งค่ามีดังนี้
ใช้เลื่อนซ้าย / ขวา ไปยังหลักถัดไป
ใช้เพิ่ม / ลด ข้อมูลในหลักที่ก�ำลังกระพริบอยู่
ใช้เพื่อยืนยันการเปลี่ยนแปลงข้อมูลของตัวแปรที่ก�ำลังตั้งค่าในขณะนี้
ใช้ก�ำหนด วันหยุด Holiday เพื่อการค�ำนวณค่า KWH แยกเป็น on Peak , off Peak , Holiday
ตามรูปด้านซ้ายวันหยุดที่ 1 คือ วันที่ 1 เดือน 1 ซึ่งตรงกับ วันขึ้นปีใหม่
ใช้ก�ำหนด วันหยุด Holiday 2 เพื่อการค�ำนวณค่า KWH แยกเป็น on Peak , off Peak , Holiday
ตามรูปด้านซ้ายวันหยุดที่ 2 คือ วันที่ 6 เดือน 4 ซึ่งตรงกับ วันจักรี
ใช้ก�ำหนด วันหยุด Holiday 11 เพื่อการค�ำนวณค่า KWH แยกเป็น on Peak , off Peak , Holiday
ตามรูปด้านซ้ายวันหยุดที่ 11 คือ วันที่ 31 เดือน 12 ซึ่งตรงกับ วันสิ้นปี
ใช้ก�ำหนด วันหยุด Holiday 20 เพื่อการค�ำนวณค่า KWH แยกเป็น on Peak , off Peak , Holiday
ตามรูปด้านซ้ายวันหยุดที่ 20 ถือว่ายังไม่ได้ก�ำหนด หรือ ไม่ต้องการใช้งาน ให้ตั้งเป็น 0 ทั้งเดือน และ
วัน ผู้ใช้สามารถก�ำหนดวันหยุดสูงสุดได้ไม่เกิน 20 วัน
ส�ำหรับประเทศไทย มีวันหยุดอยู่ 4 วันที่มีการเปลี่ยนแปลงไปแต่ละปีผู้ใช้สามารถตารางข้างล่างนี้เพื่อ
ก�ำหนดล่วงหน้า(ดูตารางวันหยุดตามประกาศการไฟฟ้าด้วย เพื่อความถูกต้อง)
วันมาฆบูชา
วิสาขบูชา
อาสาฬบูชา
เข้าพรรษา
25
2556
25 กพ
24 พค
22 กค
23 กค
2557 2558
14 กพ 5 มีค
13 กค 2 มิย
12 กค 31 กค
13 กค 1 สค
2559 2560 2561
23 กพ 11 กพ 1 มีค
21 พค 10 พค 29 พค
19 กค 8 กค 27 กค
20 กค 9 กค 28 กค
การกำ�หนดค่าตัวแปรทางไฟฟ้าเข้าด้วย Code 7000 (การกำ�หนดตัวแปรสำ�หรับ Ethernet Port)
กดปุ่ม
ค้างนาน 3 วินาที
Note-1: ทุกครั้งที่มีการกระพริบของตัว DISPLAY ปุ่มที่ใช้ส�ำหรับตั้งค่ามีดังนี้
ใช้เลื่อนซ้าย / ขวา ไปยังหลักถัดไป
ใช้เพิ่ม / ลด ข้อมูลในหลักที่ก�ำลังกระพริบอยู่
ใช้เพื่อยืนยันการเปลี่ยนแปลงข้อมูลของตัวแปรที่ก�ำลังตั้งค่าในขณะนี้
ใช้กำ�หนด IP ADDRESS ให้สอดคล้องกับ NETWORK
ตัวอย่าง กำ�หนดให้ IP ADDRESS เป็น 192. 168. 000 .200
IP Power Meter
IPM310x Series
ใช้กำ�หนด IP ADDRESS ให้สอดคล้องกับ NETWORK
ตัวอย่าง กำ�หนดให้ IP ADDRESS เป็น 192. 168. 000 .200
ใช้กำ�หนด IP ADDRESS ให้สอดคล้องกับ NETWORK
ตัวอย่าง กำ�หนดให้ IP ADDRESS เป็น 192. 168. 000 .200
ใช้กำ�หนด IP ADDRESS ให้สอดคล้องกับ NETWORK
ตัวอย่าง กำ�หนดให้ IP ADDRESS เป็น 192. 168. 000 .244
ใช้กำ�หนด SUBNET MASK ให้สอดคล้องกับ NETWORK
ตัวอย่าง กำ�หนดให้ SUBNET MASK เป็น 255. 255. 255 .0
ใช้กำ�หนด SUBNET MASK ให้สอดคล้องกับ NETWORK
ตัวอย่าง กำ�หนดให้ SUBNET MASK เป็น 255. 255. 255 .0
26
ใช้กำ�หนด SUBNET MASK ให้สอดคล้องกับ NETWORK
ตัวอย่าง กำ�หนดให้ SUBNET MASK เป็น 255. 255. 255 .0
ใช้กำ�หนด SUBNET MASK ให้สอดคล้องกับ NETWORK
ตัวอย่าง กำ�หนดให้ SUBNET MASK เป็น 255. 255. 255 .0
ใช้กำ�หนด DEFAULT GATEWAYให้สอดคล้องกับ NETWORK
ตัวอย่าง กำ�หนดให้ DEFAULT GATEWAY เป็น 192. 168. 0. 1
ใช้กำ�หนด DEFAULT GATEWAYให้สอดคล้องกับ NETWORK
ตัวอย่าง กำ�หนดให้ DEFAULT GATEWAY เป็น 192. 168. 0. 1
ใช้กำ�หนด DEFAULT GATEWAYให้สอดคล้องกับ NETWORK
ตัวอย่าง กำ�หนดให้ DEFAULT GATEWAY เป็น 192. 168. 0. 1
ใช้กำ�หนด DEFAULT GATEWAYให้สอดคล้องกับ NETWORK
ตัวอย่าง กำ�หนดให้ DEFAULT GATEWAY เป็น 192. 168. 0. 1
MAC ADDRESS
ตัวอย่าง MAC ADDRESS เป็น 00. 39. 12. 00. 60. 01
27
MAC ADDRESS
ตัวอย่าง MAC ADDRESS เป็น 00. 39. 12. 00. 60. 01
MAC ADDRESS
ตัวอย่าง MAC ADDRESS เป็น 00. 39. 12. 00. 60. 01
IP Power Meter
IPM310x Series
MAC ADDRESS
ตัวอย่าง MAC ADDRESS เป็น 00. 39. 12. 00. 60. 01
MAC ADDRESS
ตัวอย่าง MAC ADDRESS เป็น 00. 39. 12. 00. 60. 01
MAC ADDRESS
ตัวอย่าง MAC ADDRESS เป็น 00. 39. 12. 00. 60. 01
ใช้ก�ำหนด DHCP (Dynamic Host Configuration Protocol) โปรโตคอลที่ช้ในการก�ำหนด IP Address
แบบอัตโนมัติ DE FAULT = “no” โดยผู้ใช้งานก�ำหนด IP Address มิเตอร์เอง (ควรก�ำหนดเป็น NO)
โดยที่ IP DE FAULT จากโรงงานคือ 192.168.0.244 และ SUBNET MASK คือ 255.255.255.0
ตัวอย่าง “no” or “Yes”
ใช้ก�ำหนด ความเร็วในการเชื่อมต่อกับระบบ LAN ให้สอดคล้องกับ NETWORK
ตัวอย่าง “Auto” , “10Mhz” , “100Mhz”
28
ใช้ก�ำหนด Http Port ส�ำหรับการใช้ Internet Explorer / Fire Fox ดูข้อมูล ผ่าน ADSL High Speed Internet ตัวอย่าง โดยปกติ Home Page ทั่วไป Default จะเป็น “ 80 ” แต่ถ้าปรับให้มิเตอร์แต่ละตัวมี Port
ที่ต่างกันจะช่วยให้เราสามารถเข้าถึง มิเตอร์แต่ละตัว โดยใช้ Port ที่ไม่เหมือนกันด้วย Internet Explorer
/ Fire Fox
ใช้ก�ำหนด TCP/IP Modbus Port ส�ำหรับการใช้ SCADA / MMI Software เชื่อมต่อ
ตัวอย่าง โดยปกติ Modbus TCP/IP ; Default จะเป็น “ 502 ”
ใช้ก�ำหนด FTP Port ส�ำหรับการใช้ Software เชื่อมต่อ
ตัวอย่าง โดยปกติ FTP Port ; Default จะเป็น “ 21 ”
การก�ำหนดค่าตัวแปรทางไฟฟ้าเข้าด้วยCode 7100 (การรีเซท User Name / Password เป็น Default Factory )
ผู้ใช้มีการเปลี่ยน User Name และ Password แต่ภายหลังลืมข้อมูลเหล่านี้
จึงจ�ำเป็นต้องรีเซท ให้กลับไปเป็น Default Factoty
กดปุ่ม ค้างนาน 3 วินาที
ใส่ CODE 7100 วิธีใส่ CODE ดู NOTE1
เลือก NO ถ้าไม่ต้องการจะรีเซต User Name และ Password
เลือก YES ถ้าต้องการจะรีเซต User Name และ Password
มื่อรีเซตแล้ว User Name และ Password จะเป็น
User Name = “admin”
Password = ไม่มี
Note-1: ทุกครั้งที่มีการกระพริบของตัว DISPLAY ปุ่มที่ใช้ส�ำหรับตั้งค่ามีดังนี้
ใช้เลื่อนซ้าย / ขวา ไปยังหลักถัดไป
ใช้เพิ่ม / ลด ข้อมูลในหลักที่ก�ำลังกระพริบอยู่
ใช้เพื่อยืนยันการเปลี่ยนแปลงข้อมูลของตัวแปรที่ก�ำลังตั้งค่าในขณะนี้
29
การก�ำหนดค่าตัวแปรทางไฟฟ้าเข้าด้วยCode 8000 (การก�ำหนดตัวแปรส�ำหรับช่วงเวลาการคิดค่า Demand)
กดปุ่ม
ค้างนาน 3 วินาที
Note-1: ทุกครั้งที่มีการกระพริบของตัว DISPLAY ปุ่มที่ใช้ส�ำหรับตั้งค่ามีดังนี้
ใช้เลื่อนซ้าย / ขวา ไปยังหลักถัดไป
ใช้เพิ่ม / ลด ข้อมูลในหลักที่ก�ำลังกระพริบอยู่
ใช้เพื่อยืนยันการเปลี่ยนแปลงข้อมูลของตัวแปรที่ก�ำลังตั้งค่าในขณะนี้
ก�ำหนดช่วงเวลา TOU on period ส�ำหรับประเทศไทยใช้ช่วงเวลา 09:00 - 22:00
ดังนั้นเวลาที่เหลือจึงถือเป็นเวลา TOU oFF period โดยอัตโนมัติ
IP Power Meter
IPM310x Series
ก�ำหนดช่วงเวลา TOD Partial period ส�ำหรับประเทศไทยใช้ช่วงเวลา 8:30 - 18:30
ก�ำหนดช่วงเวลา TOD on peak period ส�ำหรับประเทศไทยใช้ช่วงเวลา 18:30 - 21:30
ดังนั้นเวลาที่เหลือจึงถือเป็นเวลา TOD oFF period โดยอัตโนมัติ คือ 21:30 - 08:30
ก�ำหนดช่วงเวลา Working Day ส�ำหรับประเทศไทยใช้วัน จันทร์ - ศุกร์
(ใช้รหัสเป็น 1 ส�ำหรับวันจันทร์)
(ใช้รหัสเป็น 5 ส�ำหรับวันศุกร์)
ประเทศไทยใช้ Working Day จันทร์ - ศุกร์ ดังนั้น ต้องก�ำหนดค่าให้เป็น 1 ถึง 5 เท่านั้น
ก�ำหนดค่าการค�ำนวณ Demand Time , ประเทศไทยใช้วิธีคิดค่าเฉลี่ย 15 นาที แบบ Block
ดังนั้น ต้องก�ำหนดค่าให้เป็น 15 นาที เท่านั้น
30
การต่อวงจร (Wiring Diagram)
1) ต่อแบบ 3Phase 4Line 4 CT
เลือกโหมดเป็นแบบ 4L 4CT
PT Ratio = 1
CT Ratio = XXXX / 5A
2) ต่อแบบ 3Phase 4Line 3 CT
เลือกโหมดเป็นแบบ 4L 3CT
PT Ratio = 1
CT Ratio = XXXX / 5A
3) ต่อแบบ 3Phase 4Line 2 CT
เลือกโหมดเป็นแบบ 4L 3CT
PT Ratio = 1
CT Ratio = XXXX / 5A
31
4) ต่อแบบ 3Phase 3Line 3 CT
เลือกโหมดเป็นแบบ 3L 3CT
PT Ratio = 1
CT Ratio = XXXX / 5A
IP Power Meter
IPM310x Series
5) ต่อแบบ 3Phase 3Line 2 CT
เลือกโหมดเป็นแบบ 3L 3CT
PT Ratio = 1
CT Ratio = XXXX / 5A
6) ต่อแบบ 3Phase 4Line 1 CT
เลือกโหมดเป็นแบบ 4L 1CT
PT Ratio = 1
CT Ratio = XXXX / 5A
การต่อ CT พ่วงกับอุปกรณ์เดิมที่มีอยู่อย่างเช่น KW meter, Amp meter หรือ Power Factor Controller สามารถท�ำได้
โดยการต่ออนุกรมพ่วงกันไปตามรูปข้างล่างนี้ (แสดงให้เห็นเพียงเฟสเดียวเท่านั้น เฟสที่เหลือจะท�ำในลักษณะเดียวกัน)
*** การต่อ CT สลับขั้ว หรือ สลับเฟสเมื่อ
เทียบกับเฟสของแรงดัน จะส่งผลท�ำให้ค่าที่
วัดได้ผิดปกติ (EX: CT1 ต้องตรงกับเฟส R
และขั้ว L , K ต้องถูกต้อง)
32
การเชื่อมต่อAnalog Output 4-20mA กับ อุปกรณ์ภายนอก
Dimensions
Panel cut
33
กรณีกระแสลดต�่ำลงกว่าค่า Under Current(UC) และต�่ำกว่าค่า Amin ในเวลาที่เร็วกว่าค่า t3 ถือเป็นการ OFF Load
แบบปกติ มิเตอร์จะยกเลิก (disable) การตรวจสอบสภาวะ Under Current
มีประโยชน์ในการตรวจจับ การเกิด RUN DRY ,สายพานขาด (Noload) , น�้ำแห้ง หรือ น�้ำพร่องไปจากระบบที่ควร
จะเป็น เช่น Submersible Pump , Cooling Tower , ตรวจจับ Heater ขาด
การก�ำหนดค่าตัวแปร CODE 1000 ต้องก�ำหนดค่าตัวแปร OC , UC , T3, T4
CODE 5000 ต้องก�ำหนดค่าตัวแปร OP1S/OP2S --->AMP , OP1r/OP2r - -->AUTO
- เมื่อช่วงเวลาการท�ำงานอยู่ในช่วง ON -PEAK PERIOD 9:00 - 22:00 ของวันจันทร์ - ศุกร์ ที่ไม่ตรงกับวันหยุด สามาถ
โปรแกรมให้รีเลย์ท�ำงานบอกสถานะ , ส�ำหรับช่วงเวลา 22:00 - 9:00 ของวันจันทร์ - ศุกร์ , วันเสาร์ - อาทิตย์ และ วันหยุด
ราชการ จะถือเป็นช่วง OFF PEAK PERIOD
EX: ใช้ขับหลอด TOWER LAMP เพื่อแจ้งให้พนักงานรู้ว่าช่วงเวลานี้เป็นช่วง on-peak จะได้ระวังการเปิดโหลดที่มีผล
กระทบต่อ PEAK DEMAND หรือ ช่วงเวลาคาบเกี่ยวระหว่าง ON-PEAK และ OFF PEAK พนักงานอาจจะไม่ทันสังเกตุ
การก�ำหนดค่าตัวแปร CODE 1000 ต้องก�ำหนดค่าตัวแปร -->ไม่มี
CODE 5000 ต้องก�ำหนดค่าตัวแปร OP1S/OP2S --->onPk หรือ oFPkVolt , OP1r/OP2r --->AUTO
CODE 6000 ต้องก�ำหนดวันหยุดประจ�ำปีล่วงหน้า
EX: กรณีโรงงานที่มีการผลิตในช่วงกลางคืนเพื่อเลี่ยงค่า Peak Demand เมื่อถึงเวลา 9:00น จะเป็นกลายช่วงon peak period
เราสามารถใช้รีเลย์นี้แจ้งเตือน พร้อมกับตั้งค่าเวลาท�ำงานล่วงหน้าก่อน 0-900 นาที (Code5000 ตัวแปรLeadTime)
เช่นตั้งLeadTime=60นาที -->รีเลย์จะเริ่มท�ำงานที่ 8:00 AM -22:00 PM เหมาะกับโรงงานที่มีการผลิตในเวลากลางคืน
อย่างเช่นโรงน�้ำแข็ง,โรงฉีดพลาสติก สามารถให้รีเลย์ท�ำงานเตือนก่อนเพื่อเร่งเคลียร์ระบบก่อนที่จะเข้าช่วง on Peak
- เมื่อค่า POWER DEMAND เฉลี่ย 15 นาที เริ่มสูงกว่า Power Demand setpoint (PdSP) ถือเป็นสภาวะ OverDemand
EX: ใช้ขับหลอด TOWER LAMP เพื่อแจ้งให้พนักงานรู้ว่าช่วงเวลานี้เป็นช่วงเกิด Over Demand จะได้ระวังการเปิดโหลด
ที่มีผลกระทบต่อ PEAK DEMAND ควรจะชลอการเปิดออกไปก่อน (บางครั้งโรงงานไม่สามารถปลดโหลดได้ เพราะมีผล
ต่อก�ำลังการผลิตจึงใช้วิธีแจ้งเตือน เพื่อให้ระวังการเปิดโหลดในช่วงนี้ )
การก�ำหนดค่าตัวแปร CODE 1000 ต้องก�ำหนดค่าตัวแปร -->PdSP ---> XXXX
CODE 5000 ต้องก�ำหนดค่าตัวแปร OP1S/OP2S --->ovPd , OP1r/OP2r --->AUTO
34
IP Power Meter
IPM310x Series
โหมด Current Fail ในสภาวะที่ระบบปกติ รีเลย์จะยังไม่ท�ำงาน ---> ABnormal Active :ซึ่งตรงข้าม
กับกรณี Voltage Fail ที่เป็นแบบ Normal Active การเดินสายต่อใช้งานให้ระวังตรงจุดนี้ด้วย
การก�ำหนดฟังก์ชั่นการท�ำงานของ RELAY 1 , 2 โปรแกรมผ่านทาง CODE 5000 (VOLT , AMP ,OVPD)
โหมด Voltage Fail ในสภาวะที่ระบบมีแรงดันปกติ จะสั่งให้รีเลย์ท�ำงานทันที ---> Normal Active
จุดที่-1 เริ่มตรวจพบสภาวะ Under Voltage(UV) จากนั้นหน่วงเวลา=T1 วินาที (ยังคงเกิดสภาวะUVอย่างต่อเนื่อง)
Relay Output จะท�ำงานตัดวงจร
จุดที่-2 แรงดันไฟฟ้าในระบบเริ่มกลับสู่สภาวะปกติเป็นเวลานานมากกว่า T2 วินาที กดปุ่ม Reset ที่ด้านหน้า
Relay Output จะหยุดการท�ำงาน
จุดที่-3 เริ่มตรวจพบสภาวะ Over Voltage (OV) จากนั้นหน่วงเวลา=T1 วินาที (ยังคงเกิดสภาวะOVอย่างต่อเนื่อง)
Relay Output จะท�ำงานตัดวงจร
จุดที่-4 แรงดันไฟฟ้าในระบบเริ่มกลับสู่สภาวะปกติ เป็นเวลานานมากกว่า T2 วินาที กดปุ่ม Reset ที่ด้านหน้า
Relay Output จะหยุดการท�ำงาน
- การสั่งตัดการท�ำงานเนื่องจากขาดเฟส (Open Phase) ใช้หลักการ แรงดันไฟฟ้าของเฟสใดเฟสหนึ่งมีค่าต�่ำกว่า 70 โวลท์
(เทียบ L -N) จะตัดการท�ำงานทันที(หน่วงเวลาประมาณ 3วินาที)
- แต่ถ้าสูงกว่า 70 โวลท และ ต�่ำกว่าระดับ Under Voltage จะถือเป็นสภาวะ Under Voltage หน่วงเวลาตามค่า T1 ก่อนสั่งตัด
- การสั่งตัดการท�ำงานเนื่องจากแหล่งจ่ายไฟสลับเฟส(Reverse phase) ระบบจะตัดการท�ำงานทันที (หน่วงเวลา 3วินาที)
การก�ำหนดค่าตัวแปร CODE 1000 ต้องก�ำหนดค่าตัวแปร UV, OV, UB , T1, T2
CODE 5000 ต้องก�ำหนดค่าตัวแปร OP1S/OP2S --->Volt, OP1r/OP2r --->MANL
- Over Current (UC) เมื่อกระแสโหลดเริ่มเพิ่มสูงมากกว่าค่า SetPoint OC นานเกินกว่า T3 ถือเป็นสภาวะ
OVER CURRENT , LED I-Fail ด้านหน้าจะติด และ รีเลย์จะเริ่มท�ำงาน และเมื่อกระแสต�่ำกว่าค่า OC เป็นเวลามากกว่า T4
จะถือว่าระบบเข้าสู่สภาวะปกติ ถ้าโปรแกรมให้รีเลย์ RESET แบบ AUTO รีเลย์ก็จะหยุดท�ำงานโดยอัตโนมัติ (LED I-Fail
ดับ) แต่ถ้าก�ำหนดให้รีเลย์ RESET แบบ MANUAL ก็ต้องรอผู้ใช้งานมากดปุ่ม RESETด้านหน้ารีเลย์จึงจะหยุดท�ำงาน มี
ประโยชน์ใช้ตรวจจับ Overload, OverHeat
- Under Current (UC) เริ่มจากกระแสโหลดอยู่ในสภาวะปกติ นานมากกว่าค่า T4 มิเตอร์จะเริ่ม Enable ฟังก์ชั่นนี้ เมื่อใดที่
กระแสโหลดเริ่มลดลงต�่ำกว่าค่า Set Point UC เป็นเวลานานอย่างต่อเนื่อง >T3 ถือว่าเกิดสภาวะ Under Current และจะสั่งให้
รีเลย์ที่โปรแกรมฟังก์ชั่นเป็น Current Fail ท�ำงานทันที LED I-Fail ด้านหน้าจะติด
35
การใช้งาน HOUR METER
- ผู้ใช้ก�ำหนดสภาวะที่โหลดก�ำลังท�ำงานโดยการก�ำหนดค่ากระแสต�่ำ (Amin AMP MINIMUM) ไว้ล่วงหน้าก่อนเมื่อโหลด
เริ่มท�ำงาน มีกระแสสูงกว่าค่าต�่ำสุดนี้ นาฬิกาภายในจะเริ่มท�ำงานจับเวลา HOUR METER ทันที แต่ถ้ากระแสต�่ำกว่าจุดนี้ก็
จะหยุดนับชั่วขณะ แต่ถ้ากระแสเริ่มเพิ่มสูงกว่า HOUR METER ก็จะเริ่มนับต่อจากค่าเดิมทันที
การก�ำหนดค่าตัวแปร CODE 1000 ต้องก�ำหนดค่าตัวแปร -->Amin ---> XXXX
ตัวอย่างการใช้งาน 1 ใช้ Monitor การใช้พลังงานไฟฟ้า และ ป้องกันความเสียหายเนื่องจาก Under/Over Volt /Unbalance
Phase, Open Phase , Reverse Phase , Over Current , Under Current
นอกจากนี้ ผู้ใช้ยังสามารถโปรแกรม เอาท์พุทรีเลย์ภายในให้ท�ำงานเป็นแบบ Remote On/Off เพื่อใช้ปลดโหลดในการลดค่า
Peak Demand เช่น เลื่อนเวลา เปิด-ปิด ปั๊มน�้ำ , ปลดโหลด AHU ชั่วคราว เป็นต้น
ปั๊มน�้ำตรวจจับLow Flow,Rundry
Cooling Tower ตรวจจับ Low Flow, Rundry
AHU ตรวจจับสายพานขาด
Air Compressor ตรวจจับ Over Current(ไส้กรองตัน)
ตัวอย่างอื่นๆ เช่น ตรวจจับ Heater ขาด
36
IP Power Meter
IPM310x Series
ตาราง Modbus แสดงค่าที่วัดได้ (1)
FUNCTION 04 (READ INPUT REGISTER 3x )
Modbus TCP , Modbus RTU Protocol , Data Type : 32 Bit Floating
Modbus Address
200 - 201
202 - 203
204 - 205
206 - 207
208 - 209
210 - 211
212 - 213
214 - 215
216 - 217
218 - 219
220 - 221
222 - 223
224 - 225
226 - 227
228 - 229
230 - 231
232 - 233
234 - 235
236 - 237
238 - 239
240 - 241
242 - 243
244 - 245
246 - 247
37
PLC Address
30201- 30202
30203- 30204
30205- 30206
30207- 30208
30209- 30210
30211- 30212
30213- 30214
30215- 30216
30217- 30218
30219- 30220
30221- 30222
30223- 30224
30225- 30226
30227- 30228
30229- 30230
30231- 30232
30233- 30234
30235- 30236
30237- 30238
30239- 30240
30241- 30242
30243- 30244
30245- 30246
30247- 30248
Description
Voltage Line 1 to Neutral
Voltage Line 2 to Neutral
Voltage Line 3 to Neutral
Voltage Line 1 to Line 2
Voltage Line 2 to Line 3
Voltage Line 3 to Line 1
+/- Phase Current Line 1
+/- Phase Current Line 2
+/- Phase Current Line 3
Current sum (I1+I2+I3)
Current Neutral
Current Leak
+/- Active Power Line 1
+/- Active Power Line 2
+/- Active Power Line 3
+/- Total Active Power
+/- ReActive Power Line 1
+/- ReActive Power Line 2
+/- ReActive Power Line 2
+/- Total ReActive Power
Apparent Power Line 1
Apparent Power Line 2
Apparent Power Line 3
Total Apparent Power
unit
Volt
Volt
Volt
Volt
Volt
Volt
Volt
Volt
Volt
Amp
Amp
Amp
Watt
Watt
Watt
Watt
Var
Var
Var
Var
VA
VA
VA
VA
ตาราง Modbus แสดงค่าที่วัดได้(2)
Modbus TCP , Modbus RTU Protocol , Data Type : Single Word Signed Integer
Modbus Address PLC Address Description
248
30249
Power Pactor Phase-1
249
30250
Power Pactor Phase-2
250
30251
Power Pactor Phase-3
251
30252
Power Pactor Total
252
30253
Frequency Phase-1
253
30254
Frequency Phase-2
254
30255
Frequency Phase-3
255
30256
Angle U1 - I1 Phase-1
256
30257
Angle U2 - I2 Phase-2
257
30258
Angle U3 - I3 Phase-3
258
30259
% Current Load
259
30260
% Power Load
unit
x 0.01
x 0.01
x 0.01
x 0.01
x 0.1 Hertz
x 0.1 Hertz
x 0.1 Hertz
x0.1 degree
x0.1 degree
x0.1 degree
x0.01%
x0.01%
330
331
332
333
334
335
x0.1 Degree
x0.1 Degree
x0.1 Degree
x0.1 Degree
x0.1 Degree
x0.1 Degree
30331
30332
30333
30334
30335
30336
Angle between U1 - U2
Angle between U2 - U3
Angle between U3 - U1
Angle between I1 - I2
Angle between I2 - I3
Angle between I3 - I1
38
IP Power Meter
IPM310x Series
FUNCTION 04 (READ INPUT REGISTER 3x)
ตาราง Modbus แสดงค่าที่วัดได้(3)
FUNCTION 04 (READ INPUT REGISTER 3x)
Modbus TCP , Modbus RTU Protocol , Data Type : 32 Bit Floating
Modbus Address
261 - 262
263 - 264
265 - 266
267 - 268
269 - 270
271 - 272
273 - 274
275 - 276
277 - 278
279 - 280
281 - 282
283 - 284
285 - 286
287 - 288
289 - 290
291 - 292
293 - 294
295 - 296
297 - 298
39
PLC Address
30262- 30263
30264- 30265
30266- 30267
30268- 30269
30270- 30271
30272- 30273
30274- 30275
30276- 30277
30278- 30279
30280- 30281
30282- 30283
30284- 30285
30286- 30287
30288- 30289
30290- 30291
30292- 30293
30294- 30295
30296- 30297
30237- 30238
Description
Kw Demand Block
Kw Demand Slide
Kvar Demand Block
Kvar Demand Slide
Total Active Energy Net ( แบบรวม)
Total Active Energy Import
Total Active Energy Export
Fundamention Total Active Energy (เฉพาะที่ความถี่มูลฐาน 50 HZ)
Total Reactive Net ( แบบรวม)
Total Reactive Inductive
Total Reactive Capacitive
Fundamention Total Reactive (เฉพาะที่ความถี่มูลฐาน 50 HZ)
Total Apparent Energy ( แบบรวม)
Run Hour
Run Hour This Month only
Energy Active This Month only
Energy Active ช่วงเวลา On Period (9:00-22:00) This Month only
Energy Active ช่วงเวลา OFF Period (22:00 -9:00) This Month only
Energy Active ช่วงเวลา เสาร์-อาทิตย์-วันหยุด This Month only
unit
Kw
Kw
Kvar
Kvar
KwH
KwH
KwH
KwH
KvarH
KvarH
KvarH
KvarH
KvaH
Hour
Hour
KwH
KwH
KwH
KwH
ตาราง Modbus ต�ำแหน่งสั่งงาน Write Relay โดยต้องตั้งโหมด Relay เป็น Remote
Function 01 (Read Coils 0x) , Function 05 Write Single Coil
Modbus TCP , Modbus RTU Protocol ; Data Type : 1 Bit Modbus Address
0
1
PLC Address
00001
00002
Description
WRITE RELAY1
WRITE RELAY2
ตาราง Modbus ต�ำแหน่ง Flag Status ต่างๆ
Function 01 (Read Coils 0x)
IP Power Meter
IPM310x Series
Modbus TCP , Modbus RTU Protocol ; Data Type : 1 Bit Modbus Address PLC Address รายละเอียด FLAG STAG STATUS
16
00017
Input Status 1
17
00018
Input Status 2
18
00019
Under Voltage
19
00020
Over Voltage
20
00021
Unbalance Voltage
21
00022
Open Phase
22
00023
Voltage Reverse Phase
23
00024
Over Current
24
00025
Under Current
25
00026
Phase U -I Abnormal ( เฟสกระแสไม่ แม็ชกับ แรงดัน)
26
00027
Over Power Demand
27
00028
Status Relay 1
28
00029
Status Relay 2
40