แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15 วิชาภาษาอังกฤษ 5 รหัสวิชา อ 33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง Education and Career ผลิตภัณฑ์ดีในท้องถิ่น (OTOP) เรื่อง How to make Toddy Palm Cake (Khanomtan) โดย นางภัทรธิรา อินโท กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โรงเรียนคุรุประชาสรรค์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 5 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15 รหัสวิชา อ 33101 รายวิชา ภาษาอังกฤษ 5 กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 หน่วยการเรียนรู้ Education and Career ผลิตภัณฑ์ดีในท้องถิน่ (OTOP) กิจกรรม บูรณาการ เรื่อง How to make Toddy Palm Cake (Khanomtan) เวลา 3 ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ และแสดงความ คิดเห็น อย่างมีเหตุผล ตัวชี้วัด ต 1.1 ม.6/1 ปฏิบัติตามคาขอร้อง คาแนะนา คาชี้แจง และคาอธิบายง่ายๆ ที่ฟังและอ่าน ต 1.1 ม.6/2 อ่านออกเสียงข้อความ ข่าว ประกาศ และบทร้อยกรองสั้นๆ ถูกต้องตาม หลักการอ่าน 2. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด การศึกษาเนื้อหาผลิตภัณฑ์ดีในท้องถิ่น คือ ขนมตาล ให้เข้าใจนั้นนักเรียนจาเป็นต้อง เรียนรู้ และทาความเข้าใจในความหมายของคาศัพท์และประโยคภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องจึงจะทา ให้นักเรียนเข้าใจรายละเอียดได้อย่างถูกต้องและชัดเจน 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ (KPA) 3.1 ด้านความรู้ 1. อ่านใบความรู้เรื่อง How to make Toddy Palm Cake (Khanomtan )แล้วบอก รายละเอียดขั้นตอนการทาขนมตาลได้ 3.2 ด้านทักษะ 2. อ่านออกเสียงเนื้อหาเรื่อง How to make Toddy Palm Cake (Khanomtan ) ได้ถูกต้อง 3. ปฏิบัติงานกลุ่มร่วมกับผู้อื่นได้ 3.3 ด้านคุณลักษณะ 4. นักเรียนมีวินัยในการเรียน ใฝ่เรียนรู้ และเรียนรู้อย่างพอเพียง 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 Content : How to make Toddy Palm Cake (Khanomtan ) 4.2 Vocabulary : rice flour , ripe sugar palm fruit , coconut , scrape- coconut ,salt mixture, coconut milk, milk, sugar, coconut cream, Knead 4.3 Culture : อาหารในท้องถิ่น คือ ขนมตาล 5. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 5.1 ความสามารถในการสื่อสาร 5.2 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 5.3 มีวินัย 5.4 ใฝ่เรียนรู้ 5.5 อยู่อย่างพอเพียง 6. ชิ้นงาน / ภาระงาน ชิ้นงาน - แบบฝึกหัดเรื่อง How to make Toddy Palm Cake (Khanomtan ) (อ่านเนือ้ หา เรื่อง How to make Toddy Palm Cake (Khanomtan )แล้วเขียนอธิบายวิธีทาขนมตาล ตามรูปภาพที่กาหนด) ภาระงาน - ให้นักเรียนเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ ในการออกแบบและเขียนแนะนาขนมตาล ในท้องถิ่นเพื่อทาชิ้นงานในชั่วโมงต่อไป 7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (Warm up ) 1. ครูและนักเรียนพูดคุยถึงขนมไทยๆในท้องตลาดมักจะทาจากวัสดุที่มาจากพืชและผลไม้ ที่มีอยู่ในท้องถิ่น พร้อมทั้งช่วยกันยกตัวอย่างขนมต่างๆ และให้นักเรียน ดูภาพขนมตาลพร้อม สนทนาเกี่ยวกับขนมตาลที่พบในท้องถิน่ ถึงส่วนประกอบ วิธีการทา รสชาติ ประเภทที่ชอบไม่ ชอบอย่างไรคร่าวๆ เป็นภาษาไทย 2.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ และรายละเอียดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นการนาเสนอและฝึกปฏิบัติ (Presentation and Practice) 3. แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 6 กลุ่มๆ ละ 5-6 คน แต่ละกลุ่มประกอบด้วยนักเรียนที่มี ความสามารถคละกันระหว่างนักเรียนเก่ง ปานกลาง และอ่อน โดยดูจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ภาษาอังกฤษในภาคเรียนที่ผ่านมา สมาชิกในกลุม่ เลือกประธาน เลขานุการ และแบ่งหน้าที่การ ทางานภายในกลุ่มตามความสามารถของแต่ละบุคคล 4.นักเรียนทุกคนรับใบความรู้ เรื่อง How to make Toddy Palm Cake (Khanomtan ) ขนมตาล อ่านสารวจเนื้อหาคร่าว ๆ 5. นักเรียนฟังการอ่านออกเสียงของเนื้อเรื่องจากครู 1 รอบ แล้วให้นักเรียนอ่านออกเสียง ตามครู 1รอบ 6.นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันฝึกอ่านออกเสียงเนื้อเรื่องให้คล่อง ภายในเวลา 5 นาที โดย การช่วยเหลือซึ่งกันและกันในกลุ่มถ้ากลุม่ ใดไม่มั่นใจ/ไม่สามารถออกเสียงได้ให้ปรึกษาครู ที่คอย สังเกตพฤติกรรมและให้ความช่วยเหลือนักเรียนอย่างใกล้ชิด 7.ครูตรวจสอบการอ่านออกโดยสุมนักเรียนเป็นรายบุคคล จานวน 2-3 คน อ่านออก เสียง ให้ทุกคนในห้องเรียนฟัง ครูและนักเรียนคนอื่น ๆ เสนอแนะเพิ่มเติมในกรณีที่ออกเสียงไม่ ถูกต้อง และนัดหมายให้นักเรียนสอบอ่านออกเสียงกับครูนอกเวลาเรียน ขั้นการใช้ภาษาเพื่อการสือ่ สาร (Production) 8. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทาแบบฝึกหัด เรื่อง How to make Toddy Palm Cake (Khanomtan )โดยครูกาหนดเวลาในการทากิจกรรมไม่เกิน 10 นาที ครูชี้แจงให้แต่ละกลุ่มแบ่ง หน้าที่การทางานตามความถนัดเฉพาะบุคคล ให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการทางานกลุม่ ร่วมกันศึกษา ความหมายของคาศัพท์ จาก dictionary หรือปรึกษาครู อ่านทาความเข้าใจในเนื้อหา How to make Toddy Palm Cake (Khanomtan ) อย่างละเอียดแล้วเขียนบรรยายวิธีทาขนมตาลตามรูปภาพที่ กาหนดให้ พร้อมเตรียมความพร้อมให้ตัวแทนกลุ่มเตรียมนาเสนอคาตอบ ให้แล้วเสร็จภายในเวลา ที่ครูกาหนดให้ 9. แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนนาเสนอคาตอบโดยการเขียนคาตอบบนกระดานดาหน้าชั้นเรียน ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบคาตอบพร้อมกัน ครูชื่นชมคาตอบที่ถูกต้อง และช่วยกัน เสนอแนะเพิ่มเติมในส่วนที่ยังไม่สมบูรณ์ โดยเขียนคาตอบที่ถูกต้องบนกระดานดา 10. แต่ละกลุ่มร่วมกันแก้ไขคาตอบของตนเองให้สมบูรณ์ แต้วนาไปติดไว้ป้ายนิเทศใน ห้องเรียนเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเป็นตัวอย่างแนวทางการศึกษาในวันต่อไป ขั้นสรุปการเรียนรู้ (Wrap up) 11. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับคาศัพท์ ความสาคัญ ส่วนประกอบ และขั้นตอนการทาขนมตาลในท้องถิ่นรวมทั้งประโยชน์และคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่น การ ทางานร่วมกันเป็นหมู่คณะตลอดจนสรุปการนาหลักคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการ เรียนรู้ 12. ครูมอบหมายภาระงานให้นักเรียนแต่ละกลุ่มไปศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับประเภท ลักษณะ ส่วนประกอบ รสชาติ และวิธีการทาผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่นที่นกั เรียนชอบ มา 1 ชนิดต่อกลุม่ พร้อม เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ในการทาชิ้นงาน การเขียนแนะนาผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่นมาทาในชั่วโมงต่อไป โดยมีองค์ประกอบของชิ้นงานและข้อตกลงร่วมกันดังต่อไปนี้ 12.1 เลือกใช้วัสดุที่เหมาะสม ประหยัด คุ้มค่า หาง่ายในท้องถิ่น และมีปริมาณตาม ความจาเป็น 12.2 ขนาดพื้นหลังของชิ้นงาน 20 X 30 นิ้ว และออกแบบนาเสนอสัมพันธ์กับการ สื่อความหมายและน่าสนใจ และใช้ระยะเวลาในการทาตามที่กาหนด 12.3 เขียนอธิบาย / บรรยายได้ถูกต้อง สื่อความหมายได้อย่างชัดเจน ในปริมาณที่ เหมาะสม คือในวงคาศัพท์ไม่นอ้ ยกว่า 100 คา หรือประโยคไม่น้อยกว่า 20 ประโยค 12.4 ให้สมาชิกในกลุ่มทุกคนมีส่วนร่วมในการเตรียมการ 8. สื่อและแหล่งเรียนรู้ สื่อ 1. รูปภาพขนมตาล 2. ใบความรู้ เรื่อง Local product : How to make Toddy Palm Cake (Khanomtan) 3. แบบฝึกหัด เรื่อง Local product : How to make Toddy Palm Cake (Khanomtan) แหล่งเรียนรู้ 4. ภูมิปัญญาท้องถิ่น เรื่อง การทาขนมตาล 9. การวัดผลและประเมินผล การประเมินผลด้าน ด้านความรู้ 1.อ่านใบความรู้เรื่อง How to makeToddy Palm Cake (Khanomtan) แล้วบอกรายละเอียด ขั้นตอนการทาขนมตาล ด้านทักษะ 2 . อ่านออกเสียงเนื้อหาเรื่อง How to makeToddy Palm Cake (Khanomtan)ได้ ถูกต้อง 3. มีทักษะในการทางาน กลุ่ม ด้านคุณลักษณะ 4. นักเรียนมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และอยู่อย่างพอเพียง วิธีการวัด เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์การประเมิน -ตรวจแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดเรื่อง How to make Toddy Palm Cake (Khanomtan) ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 ขึ้นไป ผ่านระดับคุณภาพดี ขึ้นไป ตอบถูกได้ 1 ตอบผิดได้ 0 -ประเมินการอ่าน ออกเสียง -ประเมินการทางาน กลุ่ม -ประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ -แบบประเมิน เกณฑ์การประเมิน การอ่านออกเสียง การอ่านออกเสียง -แบบประเมิน การทางานกลุม่ เกณฑ์การประเมินการทางาน กลุ่ม -แบบประเมิน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ตามเกณฑ์การประเมิน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ เกณฑ์การประเมินการอ่านออกเสียง องค์ประกอบ การประเมิน 1. การเว้น วรรคตอน 2. ความ คล่องแคล่ว 3. การออกเสียง 4. ความถูกต้อง เกณฑ์การประเมิน / น้าหนักคะแนน คะแนน รวม 3 2 1 เว้นวรรคตอนบกพร่อง เว้นวรรคตอนผิด 2 เล็กน้อยแต่ไม่ทาให้สื่อ บ่อยครั้งทาให้ผู้ฟัง ความหมายผิด เข้าใจความหมาย ของประโยคผิด อ่านได้คล่องแคล่วมาก อ่านยังไม่เร็วและ 2 ขึ้น อาจจะสะดุด ไม่คล่องแคล่ว เล็กน้อยแต่ไม่ทาให้การ สื่อความหมายผิดไป อ่านออกเสียงไม่ชัดเจน อ่านออกเสียงมักจะผิด อ่านออกเสียงไม่ชัดเจน 3 เล็กน้อย แต่ผู้ฟัง ทาให้ผู้ฟังสับสนต้อง สามารถเข้าใจได้ดี ตั้งใจฟังจึงจะเข้าใจ อ่านออกเสียงคา อ่านออกเสียงคา อ่านออกเสียงคา 3 ประโยคได้ถูกต้อง ประโยคผิดเพียง ประโยคผิดมาก ทาให้ เล็กน้อยแต่สามารถ ผู้ฟังสับสน แก้ไขใหม่ได้ รวม 10 เกณฑ์การตัดสินผลคะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน การสอบผ่านเกณฑ์และไม่ผ่านเกณฑ์ โดยกาหนดเกณฑ์ผ่านร้อยละ 60 เป็นดังนี้ สอบผ่านเกณฑ์ คือ คะแนนรวมตั้งแต่ 6 – 10 คะแนน สอบไม่ผ่านเกณฑ์ คือ คะแนนรวมตั้งแต่ 0 – 5.9 คะแนน การแปลความหมายของคะแนนเฉลี่ย ช่วงคะแนน ผลการประเมิน 8 – 10 ความสามารถด้านการอ่านออกเสียงอยู่ในระดับสูง 6 – 7.9 ความสามารถด้านการอ่านออกเสียงอยู่ในระดับปานกลาง 0 – 5.9 ความสามารถด้านการอ่านออกเสียงอยู่ในระดับต่า เกณฑ์การประเมินการทางานกลุ่ม องค์ประกอบ เกณฑ์การประเมิน / น้าหนักคะแนน การประเมิน 4 3 2 การวางแผน กาหนดขั้นตอน กาหนดขั้นตอน การทางานกลุม่ กิจกรรม และ กิจกรรม ไว้ มอบหมายงานไว้ ล่วงหน้า แต่ขาด ล่วงหน้าอย่างเป็น การมอบหมาย ระบบ เหมาะสม งานให้สมาชิก กับเวลาและบุคคล ภายในกลุ่ม การปฏิบัติ ปฏิบัติงานกลุ่ม ปฏิบัติงานกลุ่ม ปฏิบัติงาน งานกลุ่ม ตามขั้นตอน และ ตามขั้นตอน และ ร่วมกันภายใน ภาระงานที่ได้รับ ภาระงานที่ได้รับ กลุ่ม ผลงาน มอบหมาย มอบหมาย ผลงาน เสร็จ โดยใช้เวลา อย่างเป็นระบบ เสร็จสมบูรณ์ โดย มากกว่าที่กาหนด ผลงานเสร็จ ใช้เวลามากกว่าที่ สมบูรณ์ตาม กาหนด กาหนดเวลา รับผิดชอบ ร่วมคิดวางแผน ร่วมปฏิบัติงาน ในการปฏิบัติ และปฏิบัตงิ าน กลุ่ม ทุกขัน้ ตอน งานกลุ่ม กลุ่ม อย่างเป็น ระบบ ทุกขั้นตอน รวม 1 ขาดการ วางแผนงาน ร่วมกันไว้ ล่วงหน้า คะแนน รวม 3 ปฏิบัติงาน ร่วมกันภายใน กลุ่ม มีผลงาน ส่งแต่ส่งล่าช้า (นอกเวลา เรียน) 4 ร่วมปฏิบัติงาน กลุ่มโดยครู ต้องตักเตือน 3 เกณฑ์การตัดสินผลคะแนน การประเมินผ่านเกณฑ์และไม่ผ่านเกณฑ์ โดยกาหนดเกณฑ์ผ่านร้อยละ 60 เป็นดังนี้ ผ่านเกณฑ์ คือ คะแนนรวมตั้งแต่ 6 – 10 คะแนน ไม่ผ่านเกณฑ์ คือ คะแนนรวมตั้งแต่ 0- 5.9 คะแนน การแปลความหมายของคะแนนเฉลี่ย ช่วงคะแนน ผลการประเมิน 8 - 10 มีพฤติกรรมการทางานกลุม่ อยู่ในระดับดีเยี่ยม 6 - 7.9 มีพฤติกรรมการทางานกลุม่ อยู่ในระดับดี 0 - 5.9 มีพฤติกรรมการทางานกลุม่ อยู่ในระดับต้องพัฒนา 10 เกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ องค์ประกอบ การประเมิน 4 มีวินัยใน เข้าเรียนตรงเวลา การเรียน แต่งกายเรียบร้อย ทากิจกรรม ส่งงานครบถ้วน ตรงตามเวลา ใฝ่เรียนรู้ - เรียนรู้อย่าง พอเพียง - เกณฑ์การประเมิน 3 เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย ปฏิบัติกิจกรรม ส่งงานช้ากว่า เวลา ที่กาหนด กระตือรือร้นใน การสืบค้นข้อมูล ทากิจกรรม และ พัฒนางานด้วย ตนเองสม่าเสมอ ออกแบบชิ้นงาน/ วางแผนการทางาน อย่างเป็นระบบ และทาชิ้นงาน/ทา กิจกรรมได้สาเร็จ / สมบูรณ์และคุ้มค่า ตามเวลาที่กาหนด รวม / น้าหนักคะแนน 2 เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายถูกต้อง แต่ได้รับการ ตักเตือนจากครู ให้ทากิจกรรม สืบค้นข้อมูลและ ทากิจกรรมและ ทางานด้วย ตนเอง ออกแบบชิ้นงาน/ วางแผนการ ทางานอย่างเป็น ระบบ และทา ชิ้นงาน/ทา กิจกรรมได้สาเร็จ 1 เข้าเรียนช้า แต่งกายไม่ถูกต้อง ครูได้ตักเตือน ให้ทากิจกรรม คะแนน รวม 4 สืบค้นข้อมูลและ ทางานโดยได้รับ การตักเตือน จากครู 3 ทากิจกรรม /ทา ชิ้นงาน ตามที่ กาหนดแต่ไม่ สมบูรณ์ 3 เกณฑ์การตัดสินผลคะแนน การประเมินผ่านเกณฑ์และไม่ผ่านเกณฑ์ โดยกาหนดเกณฑ์ผ่านร้อยละ 60 เป็นดังนี้ ผ่านเกณฑ์ คือ คะแนนรวมตั้งแต่ 6 – 10 คะแนน ไม่ผ่านเกณฑ์ คือ คะแนนรวมตั้งแต่ 0- 5.9 คะแนน การแปลความหมายของคะแนนเฉลี่ย ช่วงคะแนน ผลการประเมิน 8 – 10 มีพฤติกรรมการทางานกลุ่มอยู่ในระดับดีเยี่ยม 6 – 7.9 มีพฤติกรรมการทางานกลุ่มอยู่ในระดับดี 0 – 5.9 มีพฤติกรรมการทางานกลุ่มอยู่ในระดับต้องพัฒนา 10 10.ครูผู้สอนใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างไร ในขั้นเตรียมการสอน/การจัดการเรียนรู้ ประเด็น หลักพอประมาณ หลักมีเหตุผล สื่อ -มีสื่ออุปกรณ์เพียงพอกับ -เพื่อเป็นสื่อกลางที่ทาให้นักเรียน จานวนนักเรียน เกิดการเรียนรู้อย่างชัดเจน เวลา วัสดุ / อุปกรณ์ เนื้อหา กิจกรรม การเรียน -จัดเวลาให้เหมาะสม เพียงพอกับกิจกรรม การเรียนการสอน -จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ ได้เหมาะสมสอดคล้อง กับตัวชี้วัด -จัดเนื้อหาให้สอดคล้อง กับความสามารถ ของผู้เรียน -ใช้กระบวนการกลุ่ม หลักสร้างภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี -การจัดการเรียนรู้ มีประสิทธิภาพ บรรลุเป้าหมาย -ครูสอนตรงตามแผนที่กาหนดไว้ -ครูสอนได้ครอบคลุม กิจกรรมการเรียนรู้ ที่กาหนดไว้ -ทาให้ครูได้นาวัสดุการสอนมาใช้ -วัสดุ อุปกรณ์ ช่วยให้ เพื่อเสริมสร้างให้นักเรียนเข้าใจใน การเรียนการสอนเกิด บทเรียนง่ายขึ้น ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น -ครูนาเนื้อหาไปใช้ในการ -จัดเนื้อหาตรงตามหลักสูตร จัดการเรียนรู้ได้ตรงกับตัวชี้วัด ที่กาหนด -ครูสามารถใช้กระบวนการกลุ่ม -บรรลุตามมาตรฐานและ ในการจัดการเรียนการสอน ตัวชี้วัด ได้ตามขั้นตอน ความรู้ 1. ครูผู้สอนมีความรู้เรื่องการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้เพื่อเสริมสร้างลักษณะนิสัยพอเพียง 2. ครูผู้สอนมีความรู้เรื่องการใช้คาศัพท์ ประโยค และโครงสร้างภาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับ การทาอาหาร คุณธรรม - ครูมีความขยันเตรียมการ ใฝ่เรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเอง รักเมตตาต่อศิษย์ รอบคอบ และประหยัด 11. การประเมินผลลัพธ์ ด้าน วัด ความรู้ อยู่อย่างพอเพียง…สมดุลและพร้อมรับการเปลีย่ นแปลงในด้านต่าง ๆ วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม -มีความรู้ในการใช้ - มีความรู้ในการ -มีความรอบรู้ใน -การเรียนรู้ ภาษาอังกฤษในการ ทางานเป็น การใช้แหล่งเรียนรู้ สอดคล้องกับ พูดและเขียนแนะนา กระบวนการกลุ่ม ในท้องถิ่น วิถีชีวิตของคน ทักษะ ค่านิยม ผลผลิตของท้องถิ่น -มีความรู้ความเข้าใจ ในการเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ ในท้องถิ่น ในการทาชิ้นงาน อย่างประหยัด คุ้มค่า และเหมาะสมกับ ชิ้นงาน -มีทักษะในการใช้ ภาษาอังกฤษสื่อสาร ในชีวิตประจาวัน -มีทักษะในการใช้ วัสดุ อุปกรณ์อย่าง ประหยัดและคุ้มค่า - เลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ได้อย่าง เหมาะสม -ใช้วัสดุในท้องถิ่น อย่างคุ้มค่า -มีความรู้ในการ นาเสนองาน -การวางแผนการ ทางานร่วมกันเป็น กระบวนการกลุ่ม -มีทักษะในการ ทางานร่วมกับผู้อื่น -ใช้ชีวิตอย่างพอเพียง -เป็นผู้นาผู้ตามที่ดี -รับฟังความคิดเห็น ของผู้อื่น -มีความสามัคคีในหมู่ คณะ -รู้ผลกระทบของ ในชุมชน การใช้ภาษาอังกฤษ -เห็นคุณค่าของ ในท้องถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่น - -ดารงตนให้ สอดคล้องกับวิถี ชีวิต ในชุมชน -มีทักษะในการใช้ ภาษาอังกฤษเพื่อ การสื่อสาร ได้สอดคล้องกับ วัฒนธรรม -มีจิตสานึกในการ อนุรักษ์ภูมิปัญญา ท้องถิ่น -ใช้ทรัพยากรและ สิ่งแวดล้อมอย่าง ประหยัด -สืบสานการ อนุรักษ์ภูมิปัญญา ท้องถิ่น -การใช้แหล่งเรียนรู้ โดยใช้ภูมิปัญญา ท้องถิ่น คาชี้แจง ชิ้นงาน การเขียนแนะนคาผลิ ตภัณฑ์ำดีในท้องถิ่น คือ ำแนะน How to make Toddy Palm Cake(Khanontan) รายละเอียดของชิ้นงาน ภาระงาน 1. ขนาดของชิ้นงาน 20 X 30 นิ้ว 2. ให้ใช้วัสดุ อุปกรณ์ ในการทาชิ้นงานที่มีในท้อถิ่น โดยคานึงถึงความประหยัด คุ้มค่า และเหมาะสมกับงาน 1. ให้นักเรียนทางานเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน ตามกลุ่มเดิมของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่อง Local Product : How to make Toddy Palm Cake (Khanontan) ให้สมาชิกในกลุ่มทุกคนมีส่วนร่วม ในการวางแผน การออกแบบ และแบ่งหน้าที่การทางานอย่างทั่วถึงและเหมาะสมกับความสามารถของแต่ ละบุคคล 2. ให้แต่ละกลุ่มเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ที่มีในท้องถิน่ มาทาชิ้นงานตามความจาเป็นเพียงพอกับการ ใช้งาน เหมาะสมกับงาน ประหยัด คุ้มค่า 3. ใช้ภาษาอังกฤษสาเนอข้อมูลข้าวหลามในท้องถิ่น โดยเขียนคา ประโยคได้ถูกต้อง สื่อ ความหมายได้อย่างชัดเจน ในปริมาณที่เหมาะสม คือในวงคาศัพท์ไม่นอ้ ยกว่า 100 คา หรือประโยคไม่ น้อยกว่า 20 ประโยค 4. ออกแบบชิ้นงานให้เหมาะสม สวยงาม สื่อความหมายได้ชัดเจน 5. ใช้เวลาในการทาชิ้นงานได้เหมาะสมกับเวลาที่กาหนดให้ ภายใน 20 นาที 6. แต่ละกลุม่ เตรียมความพร้อมให้ตัวแทนกลุ่ม และส่งตัวแทนกลุ่มไปพูดนาเสนอแนะนาข้าว หลามในท้องถิ่นหน้าชั้นเรียน โดยใช้เวลา ไม่เกิน 3 นาที ต่อกลุ่ม ใบความรู้เรื่อง : How to make Toddy Palm Cake (KhanomTan) The fruit from toddy palms can also be eaten and are rich in vitamins A and C, and can be eaten as young fruits, which are soft and juicy and somewhat like lychees but milder and with no pit, or old fruits, which are harder and less juicy. It is this toddy palm pulp that these cakes are made of, along with rice flour, yeast, palm sugar, coconut cream and coconut milk. Toddy Palm Cake they're kind of like sponge cake, a little sweet and different tasting than regular sugar. INGREDIENTS: 4 and ½ cup rice flour1 cup ripe sugar palm fruit (squeeze the meat)4 and ½ cup coconut milk3 cup sugar3 cup scraped coconut (overripe)1 tsp. salt PREPARATION: Crush the sugar palm fruit with water in a bowl. Put all of juice in a filter cloth bag and squeeze. Leave it in the refrigerator for 24 hours. Boil coconut milk with sugar. When it's boiling, turn off the fire and leave it cool off. In a big bowl, mix sugar palm meat from step1 with rice flour and coconut milk from step2.Knead well. Make sure it is really soft. Leave it outside for 4 hours. Put wet white cloth over top. Cut banana leave and make a small cup from it. Pour the mix in banana cups or ceramic cups if you can't make one. Mix scraped coconut with salt and dress it over top the cake. Steam on boiling water for 15 minutes.Tips: When the dough is ready, you will see bubbles on it. Make sure you don't leave the dough outside too long because it will be sour after you cook. Add 1 and 1/2 tbsp. baking powder to safe time and make it fluffy. แบบฝึกหัดเรื่อง : How to make Toddy Palm Cake (KhanomTan) Directions : Read about How to make Toddy Palm Cake (Khanomtan) After reading, look at the pictures and write how to make Toddy Palm Cake (Khanomtan) .................................................................................................................. . .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… …………………………………………………….. ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ……………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… …………………………………………………….. ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………
© Copyright 2025