FVS-MU Protocol Format; November 2006 ANIMAL CARE AND USE PROTOCOL The Faculty of Veterinary Science- Animal Care and Use Committee (FVS -ACUC) COVER SHEET Protocol No. : This section will ……………………………………………………. Received by FVS -ACUC : Approved/disapproved by FVS -ACUC : Expiration Date : be filled by ………………………………………. the FVS - ACUC …………………….…. only ……………………………………………..… 1. Protocol title: การเรียนการสอนวิชา สพ.คน. 553 เวชศาสตรสัตวน้ํา (VSCS 553, Aquatic animal medicine) 2. Principal investigator: อ.สพ.ญ.วรรณา ศิริมานะพงษ Position: อาจารย Department : อายุรศาสตร Faculty/Institute: Veterinary Science Mahidol University Tel. 02-4415242 Fax 02-4410773 E-mail [email protected] 3. Co-investigator(s): Position: อาจารย ผศ.สพ.ญ. สิริรัตน สิริภัทราวรรณ Department : อายุรศาสตร Faculty/Institute: Veterinary Science Mahidol University Tel. 02-4415242 Fax 02-4410773 4. Anticipated project period: From 8 มิถุนายน 2550 to 29 พฤศจิกายน 2550 5. Source of funding(s) : (if applicable) - 6. Principal investigator : ………………………………..… (Signature) (อ.สพ.ญ. วรรณา ศิริมานะพงษ) …………………… (Date) 28 พฤศจิกายน 2550 FVS-MU Protocol Format; November 2006 Attending Veterinarian : ………………………………..… (Signature) …………………… (Date) ( …………………………………) Head of Department : ………………………………..… (Signature) (ผศ.น.สพ.กัมพล แกวเศษ) …………………… (Date) 29 พฤศจิกายน 2550 Faculty/Institute: Veterinary Science Mahidol University Tel. 02-4415242 Fax 02-4410773 7. Approval MU-ACUC Review : Approved Approval recommended Disapproved ………………………………..… …………………… (Chair, MU-ACUC Signature) (Date) BODY OF PROTOCOL 1. Non-technical summary: (Provide a brief description of the project expressing its significance and needs for undertaking the study). เนื่องจาการเรียนการสอนวิชาอายุรศาสตรสัตวน้ําจําเปนที่จะตองมีการนําสัตวน้ํา เชน กุง ปลา และหอย มาใชเปนรูปแบบใน การศึกษาเพื่อใหนักศึกษาไดสัมผัสสัตวน้ําของจริง อันจะเปนประโยชนในการศึกษาเกี่ยวกับการรักษาตอไปในอนาคต โดยสัตวน้ําที่ นํามาศึกษานั้นจะใชในการตรวจสุขภาพรางกาย การศึกษาลักษณะโครงสรางการทํางาน การทําศัลยกรรมในปลา การผาชันสูตซาก ลักษณะเม็ดเลือด ระบบภูมิคุมกันของรางกายเชน ขบวนการเก็บกินสิ่งแปลกปลอมของเม็ดเลือดขาว (Phagocytosis activity) ในปลา 2. Rationale and literature review : - 2 FVS-MU Protocol Format; November 2006 3. Objective(s): (Provide goal/specific aim of this project) 1. เพื่อใหนักศึกษาทบทวน กายวิภาค สรีรวิทยา พยาธิวิทยาของสัตวน้ํา ที่ตางจากสัตวบก 2. เพื่ อ ให นักศึ ก ษาทราบและเขาใจเรื่อ งคุณ ภาพน้ํา ระบบการจั ดการและการผลิตสัตว น้ํา ชนิด ต างๆ นํา ไปสู ค วามเข าใจ กระบวนการของปญหาสุขภาพสัตวน้ํา อันเกิดการจัดการที่ผิดพลาด และผลกระทบทางสุขภาพสัตว และผลกระทบเชิงคุณภาพ สิ่งแวดลอม 3. เ พื่ อ ใ ห นั ก ศึ ก ษ า ไ ด เ รี ย น รู ก ร ะ บ ว น ก า ร เ กิ ด โ ร ค ก า ร วิ นิ จ ฉั ย ก า ร รั ก ษ า แ ล ะ ก า ร ค ว บ คุ ม ในตัวอยางโรคที่พบไดบอยในสัตวน้ําชนิดตางๆ ไดแก ปลา กุง สัตวตระกูลเตา จระเข สัตวสะเทินน้ําสะเทินบก สัตวน้ําเลี้ยงลูก ดวยน้ํานม 4. เพื่อใหนักศึกษาเขาใจและสามารถนําไปปฏิบัติได ในหัวเรื่อง การวินิจฉัยโรคสัตวน้ํา การใหยาสัตวน้ํา โภชนาการสัตวน้ํา วิทยา ภูมิคุมกันสัตวน้ํา พิษวิทยาสัตวน้ํา 5. เพื่อใหนักศึกษาเขาใจประเด็นเสริม ในดานการอนุรักษ จริยธรรมในการทํางานอายุรศาสตรสัตวน้ํา 4. Experimental design: (Provide a detail of experimental design addressing a hypothesis.) 1. ศึกษาลักษณะทางกายวิภาค ขั้นตอนการตรวจวินิจฉัยโรคที่พบในปลา และการวางยาสลบ General anesthesia and biopsy (gill and fin) 1. เตรียมยาสลบ clove oil เขมขนประมาณ 20-50 mg/ml (โดยเจือจางจาก Stock clove oil) ในภาชนะหรือถุงพลาสติก ปริมาตร ที่ใชขึ้นกับขนาดของปลาที่ตองการทําใหสลบ 2. นําปลามาใสในถุง สังเกตพฤติกรรมของปลาตั้งแตเริ่มใสลงในถุงจนเริ่มเขาสู stage III plane 2 ของการสลบ พรอมทั้งจับ เวลา (onset) ระหวางนั้นไมควรเขยาหรือทําใหปลาตื่นกลัวเพื่อใหปลาเขาสูการสลบอยางสมบูรณ STAGES OF FISH ANESTHESIA Stage I: Induction Erratic swimming, disorientation, increased respiration, loss of tactile response, excitement phase, some loss of equilibrium, reduced activity Stage II: Sedation Loss of equilibrium, slow swimming without direction, decreasesd responses Stage III: Anesthesia Plane 1: complete loss of equilibrium, swimming and respiratory activity slowed, still responsive to stimuli Plane 2: Surgical plane—unable to swim, respiration shallow, no response to stimuli Plane 3: cessation of opercular movements Stage IV: Premortem Spasmodic overdistension of operculum and cardiac failure 3. นําปลาที่สลบออกจากถุง ควรสวมถุงมือเมื่อจับปลา วางปลาลงในถาดหรือบนโตะที่ปูพลาสติก 4. สังเกตลักษณะภายนอกของปลา เชน ผิวหนัง เหงือก ตา วาพบจุดเลือดออก แผล ปาราสิต หรือสิ่งผิดปกติหรือไม 5. ทําการตัดปลายครีบและเหงือก (สวนปลายของ lamellae ยาวประมาณ 2 cm) วางลงบนแผน glass slide ที่มีหยดน้ํา 1 หยด แลวปดดวย cover glass เพื่อตรวจหาความผิดปกติ หรือปาราสิตตางๆ 6. ฝกฉีด normal saline เขากลามเนื้อ และเขาชองทอง 7. ฝกหัดเจาะเลือดจาก caudal vein (ถาปลาไมดิ้นรนมากนัก) 8. นําปลามาทําใหฟนโดยนําใสในถังน้ําที่ไมมียาสลบ พรอมทั้งสังเกตพฤติกรรมของปลาขณะฟน และระยะเวลาที่ปลาฟนจน เปนปกติ 3 FVS-MU Protocol Format; November 2006 การชันสูตซาก 1. Euthanize ปลาดวยยาสลบที่เขมขนกวาปกติ 2. เมื่อปลาตายแลวใหฝกหัดเจาะเลือดจาก caudal vein (ถาตองการ) 3. เปดฝาชองทอง เริ่มจากบริเวณ mid line แลวเปดผิวหนังดานขางลําตัวขึ้นไป เพื่อสะดวกในการศึกษาตําแหนงของอวัยวะ ภายในตางๆ โดยพยายามทําดวย aseptic technique 4. การศึกษาตําแหนงของอวัยวะภายใน a. b. c. d. e. f. g. h. i. Esophagus Stomach, pyrolic caeca, intestine Liver, gall bladder Spleen Testis, ovary, egg sac Swim bladder Heart (sinus venosus, atrium, ventricle, sinus arteriosus) Gill (gill arch, gill raker, lamellae) Kidney (position, color) 2. ศึกษาการทําศัลยกรรมในสัตวน้ําและและการดูแลรักษาแผลหลังการผาตัด โดยมีขั้นตอนการปฏิบัติงาน ดังนี้ 1) สังเกตอาการ การตอบสนองและพฤติกรรมปลากอนการวางยาสลบ ไดแก อัตราการ หายใจ ลักษณะของการหายใจ การวายน้ํา การทรงตัว การตอบสนองตอสิ่งเรา การตอบสนองตอความเจ็บปวด หรือ Reflex ตาง ๆ รวมทั้งชั่งน้ําหนักปลาดวย 2) คํานวณปริมาตรน้ําในถังสลบและปริมาณยาสลบที่ตองใช (60 % Clove oil) ในถังสลบขนาด 80 ppm และ รักษาการสลบขนาด 30 ppm 3) ละลายยาสลบกับแอลกอฮอล (9 เทาของปริมาณยาสลบ) ในภาชนะกอน จากนั้นจึง คอย ๆ เทลงในถังสลบทีละนอย 4) นําปลาใสลงในถังสลบ จากนั้นสังเกตอาการ การตอบสนองและพฤติกรรมปลา ขณะการวางยาสลบ (จับเวลาการสลบ) จนถึงระดับการสลบ Stage III plan 2 ** ระวัง !! หากพบปลาหยุดหายใจนาน 1-2 นาที ตองรีบนําปลาออกจากถังสลบทันทีและชวยเหลือโดยเร็วที่สุด 5) นําปลาวางบนโตะที่มีชุดอุปกรณในการวางยาสลบ (เตียงสลบ) จัดปลาใหอยูในทา นอนหงายและทําความสะอาดบริเวณผาตัดดวย NSS หรือ dilute povidone-iodine - Monitoring = การหายใจ การตอบสนองตอความเจ็บปวด หรือ Reflex ตาง ๆ - Maintenance = น้ําที่มีออกซิเจนสูง และ/หรือยาสลบ (เหงือกและลําตัว) 6) กรีดเปดผาตรง ventral midline เหนือทวารหนัก 3-5 ซม. และกรีดแผลยาว 5-10 ซม. ผานชั้นผิวหนัง กลามเนื้อและเยื่อบุชองทอง จากนั้นสํารวจอวัยวะภายในชองทอง 7) เย็บปดชั้นเนื้อเยื่อตาง ๆ ไดแก - เยื่อบุชองทอง- กลามเนื้อ ดวย Catgut วิธี Simple Continuous Suture โดยกอนเย็บปดใหทําการบีบไลลมหรือน้ําออกดวย - กลามเนื้อ – ผิวหนัง ดวย วัสดุผูกเย็บตามที่กําหนดดวยวิธี Simple Interrupted Suture หลังจากนั้นแตมแผลดวย Povidone iodine และฉีดยาปฏิชีวนะดวย 8) นําปลาใสลงในถังฟน จากนั้นสังเกตอาการ การตอบสนอง และพฤติกรรมปลา 4 FVS-MU Protocol Format; November 2006 หลังการวางยาสลบ (จับเวลาการฟนสลบ) 9) นําปลาที่ฟนจากการสลบดีไปอยูในตูดูแล 3. ศึกษาลักษณะทางกายวิภาค จุลพยาธิวิทยาของโรคกุง และขั้นตอนการตรวจวินิจฉัยโรคที่พบในกุง 1. การตรวจภายนอก (Clinical examination) 1.1 ความผิดปกติภายนอกลําตัว วัดขนาดความยาวลําตัวจากโคนกรี ถึงปลายเทลซั่น ชั่งน้ําหนัก ตรวจหาความผิดปกติ เชน - ความแข็งแรงของกุง การกางออกของยูโรพอด แอนเทนนา สเกล การดีดตัว - สี และรูปรางที่ผิดปกติของลําตัวกุง กรีที่โคงงอผิดรูป ความยาวของหนวดสั้นกวาปกติ หรือหนวดขาด มีจุดดําที่ปลาย หนวด - เปลือกนิ่ม หรือบางกวาปกติ สกปรกหรือขรุขระเปนตุมนูน กลุม melanization บนเปลือก และ รยางค หรือมีจุดสีขาว หรือสีอื่นๆที่ผิดปกติบนเปลือก - กลามเนื้อ เนื้อตัวหลวม ไมแนน มีสีขาวขุนทั้งตัว หรือบางสวน - สีและขนาดของตับและตับออน ลําไสมีอาหาร หรือวางเปลา หรือมี content ที่สีผิดปกติไป 1.2 ชองเหงือก - เหงือกบวม ออนนุมกวาปกติ ลักษณะสีเหงือกที่ผิดปกติ เนื่องจากเชื้อโรค สิ่งสกปรก melanization - “snow white area” ในเหงือก เปนลักษณะฟองแกสของโรค gas bubble disease 1.3 Gastrointestinal tract เปดหัวออกใหเห็น hepatopancreas (HP) เพื่อสังเกตขนาด (atrophy) สีซึ่งปกติเปนสีน้ําตาลออน และลักษณะความออนนุม - ถามีสีขาวและมีของเหลว (watery) อยูภายในเกิดจากภาวะ Severe atrophy - มีสีดําในการเกิดโรค Necrotizing hepatopancreatitis (NHP), septic hepatopancreatitis (SHPNS) ซึ่งอาจเกิดจาก Vibrio spp. หรือพิษจาก aflatoxin - ตับและตับออนที่มีสีสมออกแดงจะเปนลักษณะที่ปกติของกุงขาว (Penaeus vannamei) 1.4 Muscle, Midgut (MG) หรือ gonad กลามเนื้อ และหรือ ทางเดินอาหารของกุงเปนสีขาว “cotton shrimp” เกิดจากจากการติดเชื้อ microsporidian parasitism 2. การตรวจวินิจฉัยดวยกลองจุลทรรศน (direct microscopic examination) 2.1 เหงือกและระยางค 1) ตัดสวนของซี่เหงือก (เฉพาะสวนปลาย 1-2 ซี่), masticobrachial process (ระยางคที่ใชทําความสะอาดเหงือก), รยางค ปาก, ปลายขาวายน้ํา วางบนสไลดที่หยด 0.9% NaCl ไว 2) ปดดวย Cover slip สองดูดวยกลองจุลทรรศนกําลังขยายต่ํากอน 3) ตรวจดูปรสิตภายนอก สิ่งที่เกาะอยู อาการปวยตางๆรวมทั้ง - แบคทีเรียเสนสาย ที่พบบอยๆคือ leucothrix mucor, Thiothrix spp., Flavobacterium spp., Flexibacter spp., และ Cytophaga spp. - โปรโตซัว : Zoothamnium spp., Epistylis spp., Acineta spp., Bodo spp., etc. - เสนใยของสาหรายสีเขียวแกมน้ําเงิน - แพลงคตอนกลุม Diatoms - Melanization ของซี่เหงือก และ ระยางคทําความสะอาดซี่เหงือก (gill cleaner) เนื่องจากสาเหตุตางๆ ของ necrotizing และ inflammatory disease syndromes (อาจตองทําการตรวจสอบทาง histology) - เศษซากตะกอนจากพื้นบอ ซากแพลงคตอนที่บลูม และตายลงสูพื้นบอ - ในกรณีการตรวจวินิจฉัยโรค YHV ทําการตรวจหา globular materials with a yellowish and fat-like structure ใน secondary lamellae 5 FVS-MU Protocol Format; November 2006 2.2 Hepatopancreas (HP) examination 1) ตัด HP ออกวางบนสไลด 2) ตัดแบงครึ่ง HP ตามแนว mid line 3) ถาทํา Impression smear บน glass slide เพื่อตรวจ MBV, BP, หรือ BMN ทําการหยด 0.1% Malachite green ปดและขยี้ดวย coverslip ทิ้งไวประมาณ 5 นาที ตรวจดู Baculovirus occlusion bodies หรือการ hypertrophy ของนิวเคลียสของ HP cell BP และMBV จะติดสีเขียวอยาง รวดเร็ว สวนเม็ดไขมันจะไมติดสี - เพื่อตรวจ HPV หรือเชื้ออื่นๆ จะตองทําการ fix อยางเร็วที่สุดเทาที่จะทําไดดวย Methanol เพี่อปองกันการ autolysis ของ HP แลวยอมดวยสี Giemsa เพื่อตรวจดูความผิดปกติ 4) ลักษณะอื่นๆที่สามารถตรวจได ความผิดปกติของเม็ดไขมันแลวแบงระดับความรุนแรงของการเกิดโรค ตรวจดูลักษณะสี หยอม (foci) หรือรอย (streak) ของ melanization ภายใน tubule ของ HP การเกิด atrophy และ ลักษณะความผิดปกติอื่นๆ กลุมของ Motile rod shape bacteria Gregarine trophozoites 2.3 Midgut (MG) examination 1) ตัดสวนของ MG ตรงบริเวณรอยตอของ HP บริเวณหัว และ hind gut ปลองลําตัวที่ 6 2) วาง MG บนสไลดที่สะอาด รีด content ของ MG ออกมาแลวปดดวย coverslip 3) หยดน้ําทะเลสะอาด หรือ 0.9% NaClทางดานขางของ Coverslip ตรวจดู - Gregarine trophozoites หรือ gametocyte - Baculovirus occlusion bodies (MBV หรือ BP) - Melanized mass ของ hemocyte บงบอกถึง Hemocytic enteritis หรือ Vibriosis Muscle / Gonad examination เพื่อตรวจ microsporidians 1) ตัดชิ้นเนื้อสวนที่สงสัย 2) สเมียรลงบนสไลดแลวหยดดวยน้ําทะเลสะอาดตรวจดูดวยกลองจุลทรรศน โดยใชแสงนอยๆ 3) ลักษณะกอนสปอร (กําลังขยาย 200-400X) อาจพบไดในกรณี white muscle, gonad หรือ HP disease สาเหตุ เนื่องจากการติดเชื้อ Microsporidians 4) การสเมียรเพื่อ fix และยอมดวยสี Giemsa หรือ Acid fast ทําใหเห็นสปอรชัดเจนขึ้น 3. การเก็บตัวอยาง hemolymph เพื่อเมียร นับแยกชนิดของ hemocyte, ตรวจหาแบคทีเรียเบื้องตน หรือหารอยโรคของโรคหัวเหลือง 1) ทําความสะอาดผิวลําตัวกุงดวยแอลกอฮอล 1% คลอรีน หรือ 1% Iodophor 2) ใช Tuberculin syringe และเข็มเบอร 27 เพื่อเจาะเลือดจาก ventral sinus, heart, 3) นํา hemolymph มา spread ลงบนสไลดที่สะอาด แลว fix และยอมดวยสี Wright Giemsa หรือสียอมอื่นๆ ที่เหมาะสม 4) หรือเจือจางเลือดกุงดวย 0.9% NaCl หรือ sterile seawater ที่ปลอดเชื้อในอัตราสวน 1:1 หยดลงบนสไลดและปดดวย cover slip ตรวจดู motile bacteria หรือ parasite 4. การเพาะเชื้อแบคทีเรีย (Bacterial examination) เพาะเชื้อแบคทีเรียจาก hemolymph โดยใช Marine agar, TCBS หรือ media อื่นๆ ที่เหมาะสมสําหรับการเพาะเชื้อในกรณี Systemic infection ใหเพาะเชื้อจาก haemolymp, hepatopancreas, และ muscle หรือ จากรอยโรคที่ตรวจพบ 4.1 การเพาะเชื้อจาก Hemolymph - เจาะเลือดจากกุงโดยใชวิธีเดียวกับปฏิบัติการแรก โดยไมตองใชสารปองกันการแข็งตัวของเลือด - หยดเลือดลงบน อาหารเลี้ยงเชื้อหนึ่งหยด แลวเขี่ยใหทั่ว นําไปบมที่ 30 oC อานผลที่ 24 ชม. 4.2 การเพาะเชื้อจากตับและตับออน กลามเนื้อ หรือรอยโรค 6 FVS-MU Protocol Format; November 2006 - ทําการฆาเชื้อแบคทีเรียบริเวณภายนอกลําตัวดวยโดยการแชใน 1-2% povidone iodine และลางดวย sterile 2.5% NaCl saline หรือ เช็ดทําความสะอาดดวยสําลีชุป 70% อัลกอฮอล หรือ ผานไฟเพียงใหเปลือกภายนอกสุก - ใชกรรไกรที่ปลอดเชื้อเลาะเอาเปลือกแผนปดเหงือกออก ระวังอวัยวะภายใน ตัดยกตับและตับออนออกจากหัว ตัดตับ และตับออนออกเปนแนวยาว โดยไมผานลําไส ใช Sterile loop แตะ inner content (surface) เขี่ยลงบนอาหารเลี้ยงเชื้อให ทั่ว นําไปบมที่ 30 oC อานผลที่ 24 ชม. - ใชกรรไกรที่ปลอดเชื้อเลาะเอาเปลือกบริเวณลําตัวปลองที่ 2 หรือบริเวณรอยโรคที่ตรวจพบออก แลวตัดชิ้นกลามเนื้อ ขนาดพอประมาณออกจากตัวอยาง นําไปแตะที่ผิวหนาของอาหารเลี้ยงเชื้อ แลวเขี่ยใหทั่ว นําไปบมที่ 30 oC อานผลที่ 24 ชม. 5. การเก็บตัวอยางศึกษาทางจุลพยาธิวิทยา นํากุงมีชีวิตดองในน้ํายาเดวิดสัน (Davidson’s fixative) ประมาณ 10 เทาของปริมาตรกุง - กุงระยะ nauplius ถึง PL20 สามารถดองไดในน้ํายาทั้งตัว - กุงขนาด PL21 จนถึงกุงที่มีน้ําหนักไมเกิน 3 g ใหดองทั้งตัวโดยใหน้ํายาดองเขาไปที่ตับและตับออน หรือเปดเปลือกสวน หัวตามแนวยาว - กุงที่มีน้ําหนักตั้งแต 3 g ขึ้นไป ใหฉีดน้ํายาเขาไปในสวนหัว สวนทองดานหนาและดานหลังใหทั่วตัว โดยใชน้ํายาประมาณ 1 ml ถึง 10 ml ขึ้นอยูกับขนาดกุง ตัดเปลือกกุงตามแนวยาวตั้งแตเปลือกชวงทองปลองที่ 6 จนถึงสวนหัว - กุงที่มีน้ําหนักมากกวา 12 g หลังฉีดน้ํายาดองใหตัดตามขวางบริเวณสวนหัวและสวนทอง จากนั้นจึงนําตัวอยางแชในน้ํายาดอง 24 ชั่วโมง ถึง 48 ชั่วโมง ขึ้นอยูกับขนาดของกุง แลวนําตัวอยางมาใสใน 70% ethanol จะชวยใหเก็บ ตัวอยางไดนานขึ้น หลังจากนั้นนําตัวอยางไปผานกระบวนการมาตรฐานทําเปนสไลดเนื้อเยื่อ เพื่อศึกษาทางจุลพยาธิวิทยา 6. วิธี rapid staining ใชในการชันสูตรโรคตัวแดงดวงขาวหรือโรคหัวเหลือง เฉพาะในกุงขนาดใหญ (อายุมากกวา PL30) เทานั้น ไมสามารถใช ชันสูตรโรคในลูกกุง PL หรือในกุงที่ไมแสดงอาการได ตัวอยางที่เหมาะสม คือ เหงือกของกุง หรือเนื้อเยื่อใตเปลือกสวนหัว (carapace) ที่แสดงรอยโรค ขนาดของตัวอยางเหงือกตองยาวไมเกิน 0.5 cm มีวิธีการยอมดังนี้ 1) ใช HCl Davidson’s fixative ปริมาตร 0.5 ml ใสในหลอดพลาสติกขนาด 1.5 ml ตัดชิ้นเหงือกจากกุงปวย แชในน้ํายาดอง นาน 1 ชั่วโมงหรือสามารถใชตัวอยางซึ่งเก็บตามวิธีในขอ 5.2 2) เทน้ํายาดองออก นําผากอซปดที่ปากหลอดพลาสติก แลวนําไปลางดวยน้ําประปาที่ไหลผานเบาๆ นาน 15 นาที (ระวังชิ้น ตัวอยางไหลออกจากหลอด) 3) เทน้ําออก หยดสี hematoxylin 3 หยดลงในหลอด (ใหทวมชิ้นเหงือก) แชทิ้งไวนาน 10 นาที 4) เทสีออก แลวลางดวยน้ําประปาที่ไหลผานเบาๆ นาน 15 นาที 5) เทน้ําออก หยดสี eosin จํานวน 3 หยดลงในหลอด (ใหทวมชิ้นเหงือก) แชทิ้งไวนาน 2 นาที 6) เทสีออก เติม 50% ethanol ปริมาตร 0.5 ml ทิ้งไวนาน 1 นาที แลวเทออก 7) เติม 70% ethanol ปริมาตร 0.5 ml 1 นาที แลวเทออก 8) เติม 90% ethanol ปริมาตร 0.5 ml แชไวนาน 1 นาที แลวเทออก ทําซ้ําอีกครั้งหนึ่ง 9) เติม absolute ethanol ปริมาตร 0.5 ml แชไวนาน 1 นาที แลวเททิ้ง ทําซ้ําอีกครั้งหนึ่ง 10) เติม xylene ปริมาตร 0.5 ml แชไวนาน 1 นาที แลวเททิ้ง ทําซ้ําอีกครั้งหนึ่ง เก็บเหงือกไวใน xylene ระวังอยาใหแหง 7 FVS-MU Protocol Format; November 2006 11) ใชปากคีบ (forceps) หักชิ้นเหงือกใหเปนชิ้นเล็กๆ นําชิ้นเหงือกไปวางบนสไลดแลวใชคีมกดใหแตกออกเปนชิ้นเล็กๆ จน primary lamella แยกออกเปนชิ้นเดี่ยวๆ จะทําใหสามารถตรวจดู secondary lamella ไดโดยสะดวก 12) หยด permount 1 หยด ใชกระจกปดสไลดปดวางไว 3 นาที ถึง 5 นาที ตรวจดูดวยกลองจุลทรรศน แสงสวาง ที่กําลังขยาย 400 เทา 4. ศึกษาระบบภูมิคุมกันในกุง ลักษณะของเม็ดเลือด การเจาะเลือด 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. การวางยาสลบกุง โดยแชน้ําแข็ง หลังจากกุงกามกรามสลบ สังเกตจากกุงไมมีแรงขยับตัว ทําความสะอาดผิวลําตัวกุงดวยแอลกอฮอล 1% คลอรีน หรือ 1% Iodophor ใช Tuberculin syringeที่มีสารปองกันการแข็งตัวของเลือด และเข็มเบอร 27 เพื่อเจาะเลือดจาก ventral sinus, heart, นํา hemolymph มาปริมาณ 10 ไมโครลิตร spread ลงบนสไลดที่สะอาด หยดเชื้อแบคทีเรียคือ E.coli ในอาหารเลี้ยงเชื้อ TSA both ปริมาณ 10 ไมโครลิตร นํา สไลดตัวอยาง ไปเก็บไวในกลองที่มีความชื้อ ทิ้งไวประมาณ 30 นาที ลางเซลลดวย 0.9%NSS ทําการ fix และยอมดวยสี Wright Giemsa หรือสียอมอื่นๆ ที่เหมาะสม นับเม็ดเลือดที่มีการเก็บกินและไมกินแบคทีเรียเขาไปไวในเซลล % Phagocytosis = จํานวนเซลลที่กินแบคทีเรียใน 1 field X 100 จํานวนเซลลทั้งหมดใน 1 field 5. ศึกษาลักษณะทางกายวิภาคของหอยชนิดตาง ๆ 1. 2. วางยาสลบหอยโดยการแชน้ําแข็ง ทําการเปดฝาหอยเพื่อศึกษาลักษณะโครงสราง และอวัยวะภายในของหอย 5. Data analysis and statistical method: 6. Animal model and species justification: 6.1 Description of animals D/M/Y 8/6/07 15/6/07 6/7/07 Common name Species Strain/ Stock Age Weight ปลาดุกอุย Clarias macrocephalus - 5 เดือน 500 g ปลาดุกอุย Clarias macrocephalus - 5 เดือน 500 g ปลาชอน Channa spp. - 5 เดือน 500 g 8 Sex ผูและ เมีย ผูและ เมีย ผูและ เมีย Number 17 ตัว 5 ตัว 5 ตัว FVS-MU Protocol Format; November 2006 ปลาเทวดา Pterophyllum scalare cichlidae - 3 เดือน 10 g ปลาทอง Carassius auratus - 3 เดือน 10 g ปลาหมู Botia eos - 3 เดือน 10 g - 5 เดือน 500 g - 4 เดือน 300 g - 4 เดือน 300 g Tilapia nilotica ปลานิล หรือปลาหมอ Helostoma temmicki 24/8/07 31/8/07 11/10/07 กุงกามกราม กุงกามกราม Macrobrachium rosenbergii Macrobrachium rosenbergii หอยแครง Anadara granosa - 5 เดือน 5g หอยแมลงภู Perna viridis, Mytilus edulis - 5 เดือน 2g - 5 เดือน 5g หอยหวาน Babylonia areolata Link Special consideration: (List specialized requirements for the research animals, e.g. certain antibody or virus free, Pasteurella free, etc.) Source/Vendor: ตลาดสดศาลายา 6.2 Scientific justification for animal species and number requested. 9 ผูและ เมีย ผูและ เมีย ผูและ เมีย ผูและ เมีย ผูและ เมีย ผูและ เมีย ผูและ เมีย ผูและ เมีย ผูและ เมีย 10 ตัว 10 ตัว 10 ตัว 5 ตัว 18 ตัว 18 ตัว 1 kg 1 kg 1 kg FVS-MU Protocol Format; November 2006 6.2.1 Explain why the proposed species is/are the most appropriate. เนื่องจากเปนสัตวน้ําเศรษฐกิจที่หาไดงาย และเปนตัวอยางในการศึกษาไดดี 6.2.2 Provide an explanation or statistical analysis on the number of animals to be used. จํานวนที่ระบุขางตนมีความเหมาะสมกับจํานวนนักศึกษาที่จะตองเรียนปฏิบัติการดังกลาวขางตน 7. Animal care: 7.1 Husbandry consideration: (Briefly describe animal housing and living conditions, routine animal observations, feed and water provisions, etc). 7.1.1 Study location: (Animal house) หองปฏิบัติการทางกายวิภาคชั้น 1 หองปฏิบัติการสัตวน้ําชั้น 4 7.1.2 Housing system: ■ Clean conventional Strict hygienic conventional Specified pathogens free Germ free Isolator maintained Barrier maintained หองธรรมดามีระบบหมุนเวียนถายเทอากาศ Other, please specify 7.1.3 Housing Laminar flow Environmental chamber Isolator ■Other, please specify หองปฏิบัติการ 7.1.4 Caging: Solid bottom, open top Static filtered top cages Suspended cages, wire bottom Metabolic cages Individual ventilated cage (IVC) ■Other, please specify ตูปลา 7.1.5 Cage size (W x L x H) 15x20x12 นิ้ว 7.1.6 Caging materials Plastic Stainless steel ■Other, please specify กระจกและเหล็ก 7.1.7 Number of animals per cage 1 ตัวตอตู 7.1.8 Environmental requirements: 10 FVS-MU Protocol Format; November 2006 Temperature: 28-30 oC Humidity: - Light: Standard fluorescent ■Other, please specify แสงธรรมชาติ Light cycle: ■Standard 12:12 (light:dark) Other, please specify 7.1.9 ……………………………..… Food: Type of food: Standard diet ■ Other,please specify อาหารเม็ด Feeding schedule: Routine feeding (Ad libitum) ■ Other, please specify 2 ครั้ง/วัน ชวงเวลาเชา-เย็น 7.1.10 Water: Type of water: Hyperchlorinated …….. ppm. Acidified, pH ……….. ■ Other, please specify น้ํากรอง Provision of water: ■Routine feeding (Ad libitum) Other, please specify ………………………………… 7.1.11 Bedding or litters: ■No Yes , please specify Sterile Non-sterile Type of bedding or litters: Wood shaving Sawdust Paper Other, please specify ………… Schedule of bedding changing: Weekly At specified interval, every ……day(s) 7.2 Attending veterinary care: (Describe the routine veterinary care. List the criteria used for health evaluation while the animals are on study). สัตวน้ําที่ใชในการทดลองจะอยูในตูอยางดี และมีการตรวจสุขภาพประจําวัน โดยมีสัตวแพทยเปนผูตรวจสุขภาพ (อ.สพ.ญ.วรรณา ศิริมานะพงษ และนักศึกษาสัตวแพทยชั้นปที่ 5) มีการเปลี่ยนถายน้ําทุก 2-3 วันตอครั้งใหอาหารวันละ 2 ครั้ง ในชวงเชา และเย็น 11 FVS-MU Protocol Format; November 2006 8. Animal welfare: 8.1 Does the proposed research duplicate any previous work? Yes ■No Literature search is attached Literature search was conducted on ……………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………. Database used are If yes, explain why it is scientifically necessary to duplicate the experiment. ……………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………. 8.2 Replacement, reduction and refinement. 8.2.1 Replacement of animals (e.g., with in vitro models, computer models or less sentient animals): ไมสามารถใชสัตวอื่นทดแทนได เนื่องจากสัตวน้ําที่ใชในการศึกษานี้ถือเปนไมมีกระดูกสันหลัง คือ กุง หอย และสัตวมีกระดูกสันหลังชั้นต่ํา คือ ปลา 8.2.2 Reduction in the number of animals (e.g., using appropriate statistical methods in the design and analysis of the study; reduction in experimental variability by using animals of defined genetic or microbiological status.): ไมสามารถลดจํานวนสัตวตามที่ขอได เนื่องจากในการศึกษามีหลายปฏิบัติการดวยกัน และจํานวนสัตวที่ขอนั้นเหมาะสมกับจํานวนนักศึกษาที่จําเปนตองเรียนในปฏิบัติการนั้น 8.2.3 Refinement of experimental procedures to minimize pain or distress (e.g., early endpoints; use of analgesics, anesthetics or sedatives; techniques that reduce stress in the animal): การปฏิบัติตอสัตวอยางละเอียดออน นุมนวล คือ ทําการวางยาสลบสัตวกอนจะทําการศึกษาสัตวน้ําทุกชนิดที่ใชใน การศึกษา โดยใชยาสลบคือ น้ํามันกานพลู หรือใชน้ําแข็ง 8.3 Potential animal pain and distress assessment: 8.3.1 During the study: 1) How often will the clinical condition of animals be monitored? 1-2ครั้ง/วัน 2) Who will monitor the clinical condition of the animals? นักศึกษาชั้นปที่ 5 12 FVS-MU Protocol Format; November 2006 8.3.2 Are the animals expected to experience any specific study-induced or related problems (i.e. health problems, pain, distress, complications, etc.) or any health problems as a result of the phenotype of the animal? ■Yes No If yes, please answer the following questions: Describe the expected problems. ภาวะแทรกซอนหลังการผาตัด เชนการติดเชื้อ 1) What criteria(s) will be used to assess pain, distress, or discomfort? Check all that apply: ■Inactivity ■ Loss of appetite ■Loss of weight 5% ■ 10 % 15% 20% weight loss ■ Restlessness Abnormal resting postures, somnolence or hunched posture Licking, biting, scratching, or shaking a particular area Failure to show normal patterns of inquisitiveness Failure to groom, causing and unkempt appearance Guarding (protecting the painful area) ■Loss of mobility Red stain around the eyes of rats Self-mutilation Labored breathing Unresponsiveness ■ Other (please list) มีการขับเมือกออกมามาก 8.3 Anesthesia ■Yes No If yes, please answer the following questions: 1) Preanesthetic preparation : 2) Type of anesthesia used : Clove oil 3) Dose :40-100 ppm 4) Route of administration : แช 5) Frequency of anesthesia :1 ครั้ง 6) Length of anesthesia : 1 ครั้ง/ สัปดาห 7) Who is responsible for maintaining anesthesia? : นักศึกษาชั้นปที่ 5 13 FVS-MU Protocol Format; November 2006 8) If inhalation anesthetics are used, describe the system for scavenging waste anesthetics gas. 9) What criteria(s) will be used to assess level of anesthesia? Check all that apply: ■Respiration rate Body temperature Heart rate ECG Toe pinch Tail pinch Corneal reflex Pedal reflex ■Muscular relaxation Color of mucous membrane Other (pulse oximeter, respirometer) please list ……………………. 10) How animals are kept warm? 8.4 Analgesics and/or tranquilizers: ■No Yes If yes, please specify 1) Type of analgesics used ………………………………………………. 2) Dose ……………………………………………………………. 3) Route of administration …………………………………………….... 8.5 Describe post-anesthetic treatment or intervention: หลังการผาตัด เมื่อปลาฟนจากการสลบดี นําปลาไปไวในตูเลี้ยงที่เตรียมไว ใสยาปฏิชีวนะแบบแช เชน Enrofloxacin ความเขมขน 10 มิลลิกรัม/น้ํา 10 ลิตร ทิ้งไว 24 ชั่วโมง วันตอมาเปลี่ยนถายน้ําออก 50% ใสน้ําใหมใหปริมาณน้ําเทาเดิมแลวเติม ยาใหมความเขมขนเทาเดิม ใหอาหารวันละ 2 ครั้ง เชา-เย็น สังเกตพฤติกรรมปลา และการหายของบาดแผลที่เย็บ ทําการตัดไหม หลังจากแผลปดสนิท 9. Surgery: ■Yes No If yes, please answer the followings: 9.1 Surgical procedure is: Non-survival ■Survival Major Minor One time Multiple 9.2 Location: Give the location/room number for the proposed surgical procedure. หองปฏิบัติการกายวิภาค ชั้น 1 14 FVS-MU Protocol Format; November 2006 9.3 Surgeon/qualification: Indicate who will perform the surgery, and his/her qualifications, training, or experience in the proposed procedure. นักศึกษาชั้นปที่ 5 ภายใตการกับกับและดูแลของอาจารยประจําวิชา 9.4 Procedure: Describe in detail the surgical procedure. โดยมีขั้นตอนการปฏิบัติงาน ดังนี้ 1) สังเกตอาการ การตอบสนองและพฤติกรรมปลากอนการวางยาสลบ ไดแก อัตราการ หายใจ ลักษณะของการหายใจ การวายน้ํา การทรงตัว การตอบสนองตอสิ่งเรา การตอบสนองตอความเจ็บปวด หรือ Reflex ตาง ๆ รวมทั้งชั่งน้ําหนักปลาดวย 2) คํานวณปริมาตรน้ําในถังสลบและปริมาณยาสลบที่ตองใช (60 % Clove oil) ในถังสลบขนาด 80 ppm และ รักษาการสลบขนาด 30 ppm 3) ละลายยาสลบกับแอลกอฮอล (9 เทาของปริมาณยาสลบ) ในภาชนะกอน จากนั้นจึง คอย ๆ เทลงในถังสลบทีละนอย 4) นําปลาใสลงในถังสลบ จากนั้นสังเกตอาการ การตอบสนองและพฤติกรรมปลา ขณะการวางยาสลบ (จับเวลาการสลบ) จนถึงระดับการสลบ Stage III plan 2 ** ระวัง !! หากพบปลาหยุดหายใจนาน 1-2 นาที ตองรีบนําปลาออกจากถังสลบทันทีและชวยเหลือโดยเร็วที่สุด 5) นําปลาวางบนโตะที่มีชุดอุปกรณในการวางยาสลบ (เตียงสลบ) จัดปลาใหอยูในทา นอนหงายและทําความสะอาดบริเวณผาตัดดวย NSS หรือ dilute povidone-iodine - Monitoring = การหายใจ การตอบสนองตอความเจ็บปวด หรือ Reflex ตาง ๆ - Maintenance = น้ําที่มีออกซิเจนสูง และ/หรือยาสลบ (เหงือกและลําตัว) 6) กรีดเปดผาตรง ventral midline เหนือทวารหนัก 3-5 ซม. และกรีดแผลยาว 5-10 ซม. ผานชั้นผิวหนัง กลามเนื้อและเยื่อบุชองทอง จากนั้นสํารวจอวัยวะภายในชองทอง 7) เย็บปดชั้นเนื้อเยื่อตาง ๆ ไดแก - เยื่อบุชองทอง- กลามเนื้อ ดวย Catgut วิธี Simple Continuous Suture โดยกอนเย็บปดใหทําการบีบไลลมหรือน้ําออกดวย - กลามเนื้อ – ผิวหนัง ดวย วัสดุผูกเย็บตามที่กําหนดดวยวิธี Simple Interrupted Suture หลังจากนั้นแตมแผลดวย Povidone iodine และฉีดยาปฏิชีวนะดวย 8) นําปลาใสลงในถังฟน จากนั้นสังเกตอาการ การตอบสนอง และพฤติกรรมปลา หลังการวางยาสลบ (จับเวลาการฟนสลบ) 9) นําปลาที่ฟนจากการสลบดีไปอยูในตูดูแล 9.5 Pre- and post-operative provision: Detail the provision for both pre-and post-operative care, including provisions for post-surgical observation. กอนการผาตัด : - นําปลามาเลี้ยงในหองปฏิบัติการเปนเวลาอยางนอย 2 สัปดาหกอนการผาตัด - โดยเลี้ยงปลาตูขนาด 18 นิ้ว ตูละ 1 ตัว ทําการเปลี่ยนถายน้ําทุก 2-3 วัน - ใหอาหารวันละ 2 ครั้ง คือชวงเชา-เย็น หลังทําการผาดัด : - ดูแลแผลโดยแชยาปฏิชีวนะทุกวัน Enrofloxacin ความเขมขน 10 มิลลิกรัม/น้ํา 10 ลิตร ทิ้งไว 24 ชั่วโมง วันตอมาเปลี่ยนถายน้ําออก 50% ใสน้ําใหมใหปริมาณน้ําเทาเดิมแลวเติมยาใหมความเขมขนเทาเดิม ใหอาหารวันละ 2 ครั้ง เชา-เย็น สังเกตพฤติกรรมปลา และการหายของบาดแผลที่เย็บ ทําการตัดไหมหลังจากแผลปดสนิท 15 FVS-MU Protocol Format; November 2006 9.6 Describe long-term care of chronic survival procedure. ปลาที่แผลหายดีแลวจะน้ํามาเลี้ยงรวมกันในบอเลี้ยงรวม 9.7 Multiple survival surgery procedures: Multiple major operative procedures on the same animal must be adequately justified for scientific reasons by the principal investigator in writing. 9.7.1 Procedure:9.7.2 Scientific justification: 10. Blood or body fluid withdrawal/tissue collection/injections, tail clip, gavaging Describe in detail : method(s), needle size(s), volume(s) collected or administered, and frequency of collection or injection. Anatomic Needle size/ Biopsy Volume Volume Frequency location catheter size size collected administered (times per (ml) (ml) day) and length Blood Caudal vein 23 - 1 0.2 1 - - - - - - - - - - - - - - - - - - Tail clip fin - 0.5 cm. - - - Gavaging - - - - - - Other - - - - - - withdrawal Body Fluid withdrawal Tissue collection Injection/ infusion Total blood volume 1 ml. in total 1 study 1 days 11. Restraint with mechanical devices: Yes ■ No If yes, describe device, duration of restraint, frequency of observation, conditioning procedures and steps to assure comfort and well-being. ……………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………. 16 FVS-MU Protocol Format; November 2006 If prolonged restraint is used, must provide justification: ……………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………. 12. Project involving food and water deprivation, or dietary manipulation: Yes ■No If yes, describe methodology. State objective criteria used to assess physical condition and pain, discomfort, stress, and distress during the course of study. Include clinical signs or manifestations expected from the procedure. What criteria will be used to determine a humane endpoint before severe morbidity and death? Individual animal’s weight is monitored every ……… days. Individual animal’s weight is not monitored. Amount Duration restricted/added Food restriction Fluid restriction Nutrient alterations Compound Compound supplemented deleted Frequency …………. …………. …………. …………. ……… …………. …………. …………. …………. ……… …………. …………. …………. …………. ……… 13. Tumor and disease models, toxicity testing: Yes ■No If yes, describe methodology used for tumor/disease and/or toxicity testing. State objective criteria used to assess physical condition and pain, discomfort, stress, and distress during the course of study, including clinical signs or manifestations expected from the procedure. What criteria will be used to determine a humane endpoint before severe morbidity and death? ……………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………. 14. Behavioral studies: Yes ■No 17 FVS-MU Protocol Format; November 2006 If yes, describe in detail types of behavioral manipulations, including placement in testing chambers or apparatus, use of adversive stimuli, duration of test periods, and frequency of test periods. …………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………. 15. Euthanasia / Disposition of animals 15.1 Disposal of animals after completion of activity: ■Euthanatized Return to production/breeding unit/facility inventory Transfer to another research project: – Protocol No. …….…… and investigator ……………………………. Other (Please describe) …………………………………………………… 15.2 Euthanasia method ■Anesthetic overdose, please list Drugs used for euthanasia Clove Oil Dose 200 ppm Route of administration แช Cervical dislocation ■Decapitation CO2 Chamber Other (Please describe) ……………………… 16. Study endpoint: (State the project study endpoint for the animals. Indicate whether recovery, euthanasia, or death is/are expected ; specific plan for determining when the animal experimentation phase will be stopped). เมื่อสิ้นสุดการศึกษาแบงออกเปน 2 กลุม คือ กลุมที่รอดตาย และกลุมที่ตาย โดยกลุมที่รอดตาย จะเลี้ยงในหองปฏิบัติการเพื่อให มีสุขภาพที่ดีตอไป และเปนสัตวตัวอยางในการศึกษาอื่น ๆ สวนกลุมที่ตาย หลังจากการศึกษาจะทําการกําจัดซากโดยสงหนวย ปฏิบัติการทําลายซากคณะสัตวแพทยศาสตร ม.มหิดล Early endpoint is used (the animals are humanely euthanized prior to the expected terminate study day: ■Yes No Early endpoint criteria used are วิธีพิจารณาที่จะทําเมตตาฆาตสัตวที่มีสภาพทุกขทรมาน กอนที่จะสิ้นสุดการ ทดลอง คือ สัตวมีการติดเชื้อรุนแรง แผลผาตัดติดเชื้อรุนแรง สัตวสูญเสียการทรงตัว และสัตวไมสามารถดํารงชีวิตไดตามปกติ เชน วายน้ําและกินอาหาร 18 FVS-MU Protocol Format; November 2006 17. Biohazard/safety: Infectious agent (s) is/are used: specify ……………………………………… Biohazardous chemical or carcinogen or radioactive material is/are used specify ………………………………………………………………………… Recombination agent(s) is/are used: specify …………………………………...… ■None 17.1 Provide a list of any potential biohazards associated with this protocol. Specify biosafety level. BSL 1 BSL 2 BSL 3 BSL 4 17.2 Explain any safety precaution or program designed to protect personnel from biohazard and any surveillance procedure in place to monitor potential exposure. ……. 17.3 Explain how the waste is decontaminated and disposed. 17.4 List primary safety equipment and personnel protective equipment requirements. - 17.5 List procedures if any accident, injury or illness occurs. 17.6 List specific treatment provision for accidental exposure. 17.7 List relevant occupational medical health provision. 18. Qualification of personnel: List all individuals who will be working with the animals on this project. Include all investigators, students, post-doctoral researchers, staff research associates and laboratory assistants who will actually work with the animals. If personnel do not have experience, state how they will be trained: Name Responsibilities สพ.ญ.วรรณา ศิริมานะพงษ ผูสอน Description of relevant experience or training มีประสบการณในการวางยาสลบ ทําศัลยกรรม และศึกษาทาง ระบบภูมิคุมกันของสัตวน้ําเปนเวลา 3 ป 19 FVS-MU Protocol Format; November 2006 - ปฏิบัติการศึกษาการทําศัลยกรรมใน สัตวน้ําและและการดูแลรักษาแผลหลัง การผาตัด - ปฏิบัติการศึกษาระบบภูมิคุมกันในกุง ลักษณะของเม็ดเลือด การเจาะเลือด ผูสอน ผศ.สพ.ญ.สิริรัตน สิริภัทรวรรณ มีประสบการณเกี่ยวกับงานวิจัยโดยใชหอยเปนโมเดลมา - ปฏิบัติการศึกษาลักษณะทางกายวิภาคของหอยชนิดตาง ๆ มากกวา 5 ป ผูสอน ผศ. น.สพ. วิศณุ บุญญาวิวัฒน - ปฏิบัติการศึกษาลักษณะทางกาย วิภาค จุลพยาธิวิทยาของโรคกุง และ ขั้นตอนการตรวจวินิจฉัยโรคที่พบใน กุง มีประสบการณการใชกุงเปนสัตวทดลองมาเปนเวลา มากกวา 5 ป ผูสอน ผศ.สพ.ญ.ดร.ปารียา อุดมกุศลศรี -ปฏิบัติการศึกษาลักษณะทางกายวิภาค ขั้นตอนการตรวจวินิจฉัยโรคที่พบใน ปลา และการวางยาสลบ มีประสบการณการใชปลาเปนสัตวทดลองมาเปนเวลา มากกวา 5 ป ผูเรียน - ปฏิบัติการศึกษาการทําศัลยกรรมใน สัตวน้ําและและการดูแลรักษาแผลหลัง การผาตัด นักศึกษาชั้นปที่ 5 ปการศึกษา 2550 - ปฏิบัติการศึกษาระบบภูมิคุมกันในกุง ลักษณะของเม็ดเลือด การเจาะเลือด - ปฏิบัติการศึกษาลักษณะทางกาย วิภาคของหอยชนิดตาง ๆ - ปฏิบัติการศึกษาลักษณะทางกาย วิภาค จุลพยาธิวิทยาของโรคกุง และ ขั้นตอนการตรวจวินิจฉัยโรคที่พบใน กุง -ปฏิบัติการศึกษาลักษณะทางกายวิภาค ขั้นตอนการตรวจวินิจฉัยโรคที่พบใน 20 มีประสบการณในการเลี้ยงสัตวทดลองในหองปฏิบัติการ FVS-MU Protocol Format; November 2006 ปลา และการวางยาสลบ As Principal investigator on this protocol, I verifies that the information herein is true and correct and that I am familiar with and will comply with standard of animal care and use established under the ethical guidelines and policies of Mahidol University, and Office of the National Research Council of Thailand (NRCT). Additionally, I acknowledge my responsibilities and provide assurances for the followings: A. Animal use: The animals authorized for use in this protocol will be used only in the activities and in the manner described herein, unless a deviation is specifically approved by the MUACUC. B. Duplication of effort: I have made a reasonable, good faith effort to ensure that this protocol is not an unneccessary duplication of previous experiments. C. Statistical assurance: I assure that I have consulted with qualified statistician to evaluate the statistical design or strategy of this proposal, and that the minimum number of animals needed for scientific validity are used. D. Biohazard/safety: I have taken into consideration, and I have made the proper coordinations regarding all applicable rules and regulations concerning radiation protection, biosafety, recombinant issues, etc., in the preparation of this protocol. E. Training: I verify that the personnel performing the animal procedures/manipulations described in this protocol are technically competent and have been properly trained to ensure that no unneccessary pain or distress will be caused as a result of the procedures/manipulations. F. Responsibility: I acknowledge the inherent moral and administrative obligations associated with the performance of this animal use protocol, and I assure that all individuals associated with this project will demonstrate a concern for the health, comfort, welfare, and well-being of the research animals. Additionally, I pledge to conduct this study in the responsibility for implementing animal use alternatives where feasible, and conducting humane and lawful research. G. Scientific review: This proposed animal use protocol has received appropriate peer scientific review, and is consistent with good scientific research practice. H. Research studies: This protocol IS or IS NOT (circle one) associated with a grant application. If yes, I certify that this protocol is essentially the same as the study found in the grant application or program/project. The MU-ACUC and the funding agency will be notified of any changes in the proposed project, or personnel, relative to this application. I will not proceed with animal experiment until approval by the MU-ACUC is granted. 21 FVS-MU Protocol Format; November 2006 ……………………………………… (Principal investigator) 22 …………. Date
© Copyright 2024